หน่วยที่ 6 กราฟ (Graphs)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Asst.Prof. Dr.Surasak Mungsing
Advertisements

วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
การใช้กราฟิก Cycle Graph
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
การออกแบบออโตมาตาจำกัดเชิงกำหนด ( DFA )
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 Introduction to Algorithm Analysis
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
กระบวนการของการอธิบาย
การเขียนผังงานเบื้องต้น (Flow chart)
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
L/O/G/O. เป็นแผนภาพการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่มมโนมติที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน ด้วยเส้นของคำเชื่อม ที่เหมาะสมจะเริ่มจากการเลือกคำที่เป็นมโนมติที่สำคัญ.
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
บทที่ 12 กราฟ (Graph).
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
การบริหารโครงการ Project Management
Trees (2) University of Phayao Sanchai Yeewiyom
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
Graph Lecturer : Kritawan Siriboon, Boontee Kruatrachue Room no. 913
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
ความหมายสัญลักษณ์ของ BPMN 2.0
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
บทที่ 10 วงจรรายได้.
Supply Chain Management
เศษส่วนและทศนิยม.
การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
Sequence Diagram.
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 6 กราฟ (Graphs) อ.กาญจนา ทองบุญนาค

นิยามกราฟ กราฟ เป็นโครงสร้างที่นำมาใช้เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ โดยแทนวัตถุด้วยเวอร์เท็กซ์ และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ด้วยเอดจ์ G = (V,E) ซึ่ง V(G) คือ เซตของเวอร์เทกซ์ที่ไม่ใช่เซ็ตว่าง และมี จำนวนจำกัด E(G) คือ เซตของเอดจ์ ซึ่งเขียนด้วยคู่ของเวอร์เท็กซ์ A B เวอร์เท็กซ์ เอดจ์

ตัวอย่าง V(G) = {A, B, C, D, E} เส้นที่เชื่อมโยงจาก A ไป C เส้นที่เชื่อมโยงจาก A ไป D เส้นที่เชื่อมโยงจาก A ไป E เส้นที่เชื่อมโยงจาก B ไป E A C D E B V(G) = {A, B, C, D, E} E(G) = {(A,B), (A,C), (A,D), (A,E), (B,E)}

Digraph กราฟแบบมีทิศทาง = กราฟที่มีเอดจ์เป็นหัวลูกศร ซึ่งแสดงทิศทางจากเวอร์เท็กซ์หนึ่ง ไปยังอีกเวอร์เท็กซ์หนึ่ง (Directed Graph) A B กรุงเทพ เวียงจันทร์ จากภาพ มีเส้นทางจากกรุงเทพไปเวียงจันทร์ แต่ไม่มีเส้นทางจากเวียงจันทร์ไปกรุงเทพ

กราฟสมบูรณ์ กราฟที่ทุกเวอร์เท็กซ์มีเอดจ์เชื่อมโยงไปยังเวอร์เท็กซ์ที่เหลือทั้งหมด A C B ในกราฟสมบูรณ์สามารถคำนวณจำนวนเอดจ์ได้จาก N*(N-1)/2

กราฟที่มีน้ำหนัก (Weighted Graphs) กราฟที่แต่ละเอดจ์จะมีค่าบ่งบอกถึงความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ระยะทาง ความเร็ว เวลาเดินทาง ค่าโดยสาร เป็นต้น ปทุมธานี สระบุรี กรุงเทพ ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี 101 46 107 82 76 100 29 58

การแทนกราฟด้วยอะเรย์สองมิติ A B C D A B C D 1 A B C D

Depth-First Search เยี่ยมโหนดไปตามแนวลึกให้ครบทั้งหมดก่อน A 5 1 3 B C 2 4 E F A B E C F D

Breadth-First Search เยี่ยมโหนดไปตามแนวกว้างให้ครบทั้งหมดก่อน A 3 1 2 5 4 E F A B C D E F

Spanning tree G เป็นกราฟต้นไม้เมื่อ จุดยอดแต่ละคู่มีวิถีเชื่อมเพียงวิถีเดียว ถ้าลบ edge ใด edge หนึ่งออก กราฟที่เหลือจะไม่เชื่อมโยง ไม่มีวัฏจักร (cycle) Spanning tree เป็นกราฟต้นไม้ (G) ที่มีจุดยอด (vertex) ทั้งหมดของ G

Spanning tree สมมติสถานการณ์ให้กราฟแสดงเส้นทางการบินระหว่าง 7 เมือง แต่ด้วยเหตุผลทางธุรกิจทำให้ต้องปิดเส้นทางการบินไปให้มากที่สุดแต่ยังคงสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้หมด a b c d e f g a b c d e f g a b c d e f g

Minimum spanning tree Definition MST of a weighted graph is a spanning tree whose weight (the sum of the weights of its edges) is no larger than the weight of any other spanning tree 2 1 7 3 4 5 6 .29 .51 .60 .31 .32 .21 .25 .46 .40 .34 .18 2 1 7 3 4 5 6 .29 .51 .60 .31 .32 .21 .25 .46 .40 .34 .18

Minimum spanning tree Representation 0 1 2 3 4 5 6 7 0 1 2 3 4 5 6 7 0 * .32 .29 * * .60 .51 .31 1 2 3 4 5 6 7 2 1 7 3 4 5 6 .29 .51 .60 .31 .32 .21 .25 .46 .40 .34 .18 .32 * * * * * * .21 .29 * * * * * * * * * * * .34 .18 * * * * * .34 * .40 .51 .46 .60 * * .18 .40 * * * .51 * * * .51 * * .25 .31 .21 * * .46 * .25 *

Kruskal’s Algorithm เลือก edge ที่สั้นที่สุด เลือกได้ n-1 edges เกี่ยวกับ Connected Graph ถ้ามีจุด (vertices) n จุด จะต้องมีอย่างน้อย n-1 เส้น เพื่อให้เป็น spanning tree นั่นคือ n vertices ใช้ n-1 edges (V จุด E เส้น) เพราะฉะนั้น Emax = V(V-1) / 2

Kruskal’s Algorithm เรียงลำดับ weight จากน้อยไปมาก 3-5 = .18 1-7 = .21 6-7 = .25 0-2 = .29 0-7 = .31 0-1 = .32 4.3 = .34 4-5 = .40 4-7 = .46 0-6 = .51 4-6 = .51 0-5 = .60   2 .29  .51 .31 6  7 .32 .25  .21 .60 1 เกิดวงจร .51 .46  3 เกิดวงจร .34 .18  5 .40 4

Prim’s algorithm - เลือก 1 จุด - เลือก edge สั้นสุดที่ต่อกับที่ได้เลือกไว้ - รวม edge นี้ถ้าไม่เกิดวงจร A A B C D E F 1 7 14 13 3 6 8 14 1 8 13 7 B C D 6 3 7 E F 1

Dijkstra’s algorithm single-source shortest path A B C D E F A B C D E 1 7 14 13 3 6 A B C D E F 1 7 14 13 3 6 8 8