Plant layout Design.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
Number system (Review)
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
พื้นที่ผิวของพีระมิด
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
การบริหารโครงการ Project Management
ACCOUNTING FOR INVENTORY
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
Multistage Cluster Sampling
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
บทที่ 6 การปันส่วนต้นทุนและต้นทุนฐานกิจกรรม
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ.
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
Chapter 3 : Array.
Google Scholar คืออะไร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Plant layout Design

การออกแบบแผนผัง มี 2 แนวทางคือ แนวทางที่ 1 แนวทางการทำให้เกิดค่าใช้จ่ายในการขนส่งหรือระยะทางน้อยที่สุด(Minimize Transportation Cost or Distance) หรือ ที่เรียกว่า ตัวแบบภาระงานระยะทาง(Load-Distance Model) โดยแนวทางนี้จะทำการวิเคราะห์หาทางเลือกที่สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งหมด หลังจากนั้นจะทำการเลือกทางเลือกที่ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายต่ำสุด

แนวทางที่ 2 แนวทางของการใช้แผนภูมิความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม (Activity Relationship Chart or REL Chart) ใช้แผนภูมิที่นำเสนอโดยริชาร์ด มิวเตอร์(Richard Muther) แล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อทำการจัดวางตำแหน่งของแผนกต่างๆตามวิธีการนำเสนอของ ดิลีบ อาร์ ซูล (Dileep R. Sule)

แนวทางของการทำให้เกิดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง หรือระยะทางน้อยที่สุด โดยใช้แผนภูมิการไหลไปกลับ (From-to Chart) ดังตารางที่ 1 และ 2 ตารางที่ 1 แผนภูมิการไหลไปกลับ ของระยะทางระหว่างตำแหน่งต่าง ๆ ตารางที่ 2 แผนภูมิการไหลไปกลับ ของภาระงานต่อวันระหว่างแผนกต่าง ๆ

จากข้อมูลตามตารางที่ 1 และ 2 สามารถสรุปได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นคือ ต้องการจัดวางตำแหน่งของแผนก 3 แผนก(1, 2, 3) ลงใน 3 ตำแหน่ง (A, B, C) ดังนั้นรูปแบบที่เป็นไปได้ หรือคำตอบที่เป็นไปได้มีทั้งหมดเท่ากับ 3! คือ 6 แบบ ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 แสดงคำตอบที่เป็นไปได้ของการจัดวางแผนผัง

Objective is to minimize transporatation cost Lij = ภาระงาน (Loads) ระหว่างแผนก i กับ j Dij = ระยะทาง (Distance) ระหว่างแผนก i กับ j Kij = ค่าใช้จ่ายต่อครั้งของการขนย้ายวัสดุต่อหน่วยระยะทาง ระหว่างแผนก i กับ j n = จำนวนแผนกทั้งหมด

รูปที่ 1 การจัดวางตำแหน่งของแผนกต่าง ๆ ตามแบบที่ 1 จากคำตอบที่เป็นไปได้จะมีคำตอบที่ดีที่สุดเพียงคำตอบเดียวที่จะทำให้การจัดวางตำแหน่งของแผนกต่างๆ เกิดค่าใช้จ่ายในการขนส่งต่ำสุด สำหรับการจัดวางผังแบบที่ 1 สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 การจัดวางตำแหน่งของแผนกต่าง ๆ ตามแบบที่ 1 1 2 3 ตำแหน่ง A ตำแหน่ง B ตำแหน่ง C

จากรูปที่ 1 จะได้ผลคูณระหว่างภาระงานและระยะทางระหว่างแผนกต่างๆ ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลคูณระหว่างภาระงานและระยะทางระหว่างแผนกต่างๆ ถ้าค่าใช้จ่ายต่อครั้ง สำหรับการขนส่งในระยะทาง 1 เมตรเป็น 1 บาท จะได้ค่าใช้จ่ายในการขนส่งเป็น 7,600 บาท

2. แนวทางของการใช้แผนภูมิความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม เก็บข้อมูลของระดับความสัมพันธ์ระหว่างคู่แผนกใด ๆ โดยแบ่งเป็น 6 ระดับ คือ A หมายถึง คู่แผนกนี้ จำเป็นต้องอยู่ติดกัน E หมายถึง คู่แผนกนี้ ควรอยู่ใกล้กันที่สุดเท่าที่จะทำได้ I หมายถึง คู่แผนกนี้ ควรอยู่ใกล้กัน O หมายถึง คู่แผนกนี้ ควรอยู่ใกล้กันก็ดี แต่ถ้าไม่ได้ก็ไม่เป็นไร U หมายถึง คู่แผนกนี้ ไม่จำเป็นต้องอยู่ใกล้กัน X หมายถึง คู่แผนกนี้ ห้ามอยู่ใกล้กัน

รูปที่ 2 ตัวอย่างแผนภูมิความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม (REL Chart)

ตารางที่ 5 ขนาดของพื้นที่ของแต่ละแผนก (ตารางเมตร) ตารางที่ 5 ขนาดของพื้นที่ของแต่ละแผนก (ตารางเมตร)

ดิลีบ อาร์ ซูล (Dileep R ดิลีบ อาร์ ซูล (Dileep R. Sule) [3] ได้เสนอวิธีการที่ค่อนข้างง่ายและสะดวกในการจัดวางตำแหน่งของแผนกต่างๆดังต่อไปนี้ 1. เปลี่ยนแปลงค่าจากแผนภูมิ REL มาเป็น แผนภูมิ Value ที่จะแสดงค่า ความสัมพันธ์ของแผนกใดๆที่ มีกับแผนกอื่น โดยคำนวณจากการ กำหนดคะแนนของแต่ละระดับความสัมพันธ์ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 คะแนนแต่ละระดับความสัมพันธ์

จากรูปที่ 2 จะได้แผนภูมิ Value ดังตารางที่ 7

2. ทำการจัดวางแผนกดังนี้ - เลือกแผนกที่มีค่ารวมความสัมพันธ์มากที่สุดมาทำการจัดวางไว้ตรงกลาง ซึ่งจะมีแผนกอื่นๆล้อมรอบตามมา ในที่นี้คือแผนก 1 - เลือกแผนกที่มีความสัมพันธ์เป็น A กับแผนกที่จัดวางลงไปแล้ว ในที่นี้คือ แผนก 2, 4, 6 โดยที่จะเลือกแผนกที่มีค่ารวมความสัมพันธ์มากที่สุดมาวางลงให้ใกล้กับแผนกที่ถูกจัดวางไปแล้ว ในที่นี้คือแผนก 2 และ 6 สมมุติว่าเลือกแผนก 2 มาทำการจัดวาง แผนกต่อมาที่จะถูกจัดวางจะเป็นแผนกที่มีความสัมพันธ์เป็น A กับ แผนกที่ 2 ทำการจัดวางเช่นนี้ไปจนกระทั่งหมดคู่แผนกที่มีความสัมพันธ์เป็น A ก็จะทำการพิจารณาความสัมพันธ์ E, I, O, X ตามลำดับ หรือ ทำการจัดวางหมดทุกแผนกแล้ว จากการจัดวางสามารถจัดวางได้ดังรูปที่ 3

รูปที่ 3 ตำแหน่งการจัดวางแผนกต่างๆ ตามรูปที่ 2 อย่างไรก็ตาม ผู้ที่จะทำการจัดวางแต่ละคนอาจจะทำการจัดวางแล้วได้คำตอบที่ไม่เหมือนกันก็ได้ ดังนั้นซูล(1988) จึงได้เสนอวิธีการในการประเมินการจัดวางตำแหน่งแบบต่างๆ ดังขั้นตอนต่อไป

3. คำนวณจำนวนบล็อคของแต่ละพื้นที่เพื่อให้เป็นตัวแทนในการกำหนดขนาดพื้นที่ของแผนกต่างๆ จากตัวอย่างข้างต้น กำหนดให้ 1 บล็อก มีขนาดเป็น 20 เมตร  20 เมตร นั่นคือ 400 ตารางเมตร จะได้ผลดังตารางที่ 8 ตารางที่ 8 ผลการคำนวณจำนวนบล็อค

รูปที่ 4 ตัวอย่างแผนผังในลักษณะของบล็อค 4. ทำการสเก็ตบล็อคให้ออกมาเป็นแผนผังตามขนาดแผนผังที่ได้คาดหมายไว้ ตัวอย่างเช่นดังรูปที่ 4 รูปที่ 4 ตัวอย่างแผนผังในลักษณะของบล็อค

5. ทำการหาค่าผลของความใกล้ชิด (Effectiveness) ของรูปที่ 4 ค่าผลของความใกล้ชิด = ค่าระดับความสัมพันธ์ระหว่างคู่แผนก X จำนวนบล็อคของระยะทางใน แนวตรง (Rectilinear Distance) ที่สั้นที่สุดของคู่แผนก ได้ผลดังตารางที่ 9 ตารางที่ 9 ผลการคำนวณค่าผลของความใกล้ชิด

รูปที่ 5 แผนผังตามตัวอย่าง การจัดวางที่ดีที่สุดจะให้ค่าผลรวมของค่าผลของความใกล้ชิดต่ำที่สุด จากนั้นนำข้อมูลจากรูปที่ 3 ตารางที่ 8 และ รูปที่ 4 มาทำการวาดแผนผังดังรูปที่ 5 รูปที่ 5 แผนผังตามตัวอย่าง

หนังสืออ้างอิง พิชิต สุขเจริญวงศ์ (2540). การจัดการวิศวกรรมการผลิต. ซีเอ็ด. Muther, R.(1967). Systematic Layout Planning. Cahners Books. Stevenson, William J. (1999). Production Operation Management. 6th ed. McGraw-Hill. Sule, Dileep R. (1988). Manufacturing Facilities: Location, Planning and Design. PWS Publishing Company. Tompkins, James A., White John A., Bozer Yavuz A., Frazelle Edward H., Tanchoco J.M.A., Jaime Trevino. (1996). Facilities Planning. 2nd ed. Singapore: John Wiley.