ด้านการพัฒนาระบบราชการ การประชุมเครือข่าย กพร. กรมอนามัย การสมัครขอรับรางวัล ด้านการพัฒนาระบบราชการ การประชุมเครือข่าย กพร. กรมอนามัย 24 ธันวาคม 2557 โดย ... กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
เชิญชวนส่งผลงานเข้าประกวด ประเภทรางวัล 1 รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) 2 รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Thailand Excellent Participatory Governance Awards) 3 รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award - PMQA) 2
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) 1 รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) 3
ประเภทรางวัล 1. รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ 2. รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ 3. รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ 4. รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ 5. รางวัลบริการภาครัฐยอดเยี่ยม 6. รางวัลพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง 4
1. รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากการนำมาตรฐานการให้บริการของหน่วยงานที่ ได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติแล้ว ไปขยายผลในทุกหน่วย บริการสาขา เพื่อให้การบริการเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยมี เจตนารมณ์เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่ดี มีมาตรฐานเดียวกัน ทุกหน่วยบริการ เงื่อนไข เป็นผลงานที่เป็นภารกิจหลักความสำคัญของหน่วยงาน และเคยได้รับรางวัล คุณภาพการให้บริการประชาชน หรือรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ระดับดีเด่นหรือ รางวัลอื่น ๆ ทั้งในและต่างประเทศ หรือเป็นผลงานที่ได้รับการยอมรับจากสาธารณะ และไม่เคยได้รับการร้องเรียน เป็นผลงานที่มีการให้บริการในหน่วยบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของหน่วยบริการ ทั่วประเทศ เป็นผลงานที่สามารถแสดงผลการให้บริการที่เป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกหน่วย บริการได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีการนำผลงานไปใช้แล้วจริง เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี 5
2. รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการปรับปรุงกระบวนการให้บริการที่เป็นความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานของรัฐอย่างน้อย 3 หน่วยงาน เพื่อพัฒนาบริการภายใต้เป้าหมายเดียวกัน โดยมีเจตนารมณ์เพื่อผลักดันให้หน่วยงานเกิดความร่วมมือกันปรับปรุงบริการ ลดขอบเขตอำนาจเพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริการประชาชน เงื่อนไข เป็นการปรับปรุงบริการที่เกิดจากการทำงานร่วมกันไม่น้อยกว่า 3 หน่วยงาน(ส่วน ราชการอย่างน้อย 2ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐประเภทอื่น เช่น อปท. องค์การ มหาชน รัฐวิสาหกิจ และ/หรือองค์กรต่างๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน) มีการจัดทำเป็นข้อตกลงการดำเนินการร่วมกัน มีผลการดำเนินการที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของข้อตกลงและเป้าหมายของการ ปรับปรุงบริการ เป็นผลงานที่มีการดำเนินการเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี มีแผนการดำเนินการร่วมกันตั้งแต่เริ่มโครงการ ที่ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละ หน่วยงานไว้อย่างชัดเจน 6
3. รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการที่แสดงถึงการสร้างสรรค์งานบริการ หรือคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ในการให้บริการประชาชน โดยมีเจตนารมณ์เพื่อให้หน่วยงานสร้างสรรค์รูปแบบการให้บริการใหม่ ๆ โดยต้องมีผลลัพธ์ของการดำเนินการอย่างชัดเจนในการให้บริการประชาชน เงื่อนไข 1. เป็นผลงานที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ (ไม่เคยเกิดขึ้นในเมืองไทยมาก่อน) - นำเทคนิคการบริหารจัดการ เครื่องมือ หลักการใหม่ๆมาใช้ แล้วก่อให้เกิดงานบริการ หรือรูปแบบการให้บริการใหม่ หรือกระบวนการทำงานใหม่ - มีการจดสิทธิบัตร /อนุสิทธิบัตร /ลิขสิทธิ์ 2. เป็นผลงานที่คิดค้นมาไม่เกิน 3 ปี 3. มีการนำผลงานไปใช้แล้วจริง เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และได้รับการยอมรับจาก สาธารณะ 4. นวัตกรรมการบริการจะต้องมีผลต่อประสิทธิภาพและคุณภาพของระบบการบริหารจัดการ และการให้บริการประชาชน 7
4. รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ พิจารณาจากผลการดำเนินการปรับปรุงการให้บริการประชาชน แล้วส่งผลให้เกิดการพัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ด้วยการนำหลักการ แนวคิด เทคนิค เครื่องมือต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการให้บริการ โดยมีเจตนารมณ์เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานพัฒนาคุณภาพการบริการที่ตอบสนองและทันต่อความต้องการของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่ดีขึ้น เงื่อนไข เป็นการพัฒนาการให้บริการ โดยการนำหลักการ แนวคิด เทคนิค เครื่องมือ มาประยุกต์ใช้ มีการนำผลงานไปใช้แล้วจริงเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี ลักษณะผลงานที่เสนอจะต้องไม่เป็นรูปแบบเช่นเดียวกับผลงานที่เคยได้รับ รางวัลแล้ว หรือหากมีรูปแบบคล้ายคลึง จะต้องมีการต่อยอดการพัฒนาที่ดี ขึ้น สามารถตรวจสอบรายชื่อผลงาน ที่เคยได้รับรางวัล ได้จากเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. : www.opdc.go.th
5. รางวัลบริการภาครัฐยอดเยี่ยม พิจารณาให้แก่หน่วยงานที่มีผลงานได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติระดับดีเด่นในปีเดียวกัน อย่างน้อย 3 ประเภทรางวัล ได้แก่ รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ และรางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ หรือรางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ ข้อ 1 + ข้อ 2 + ข้อ 3 หรือข้อ 4 อย่างน้อย 3 ด้าน 9
ข้อ 1/ ข้อ 2/ ข้อ 3 /ข้อ 4 ระดับดีเด่น 6. รางวัลพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง พิจารณาจากการดำเนินการรักษาคุณภาพ และมาตรฐานการให้บริการของหน่วยงานไม่น้อยกว่า 3 ปี นับตั้งแต่ผลงานได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555) เงื่อนไข เป็นผลงานที่เคยได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ระดับดีเด่น (ใน 4 ประเภทรางวัล) สามารถให้บริการได้ไม่ต่ำกว่ามาตรฐานที่เคยได้รับรางวัล อย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี โดยต้องนำเสนอให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมถึงวิธีการในการรักษาคุณภาพ และมาตรฐานการให้บริการของหน่วยงาน หน่วยงานต้องแจ้งความจำนง โดยจัดส่งรายงานผลการดำเนินการรักษามาตรฐานการให้บริการของหน่วยงาน ไปยังสำนักงาน ก.พ.ร.ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 ปี จนถึงปีที่สมัครขอรับรางวัล ข้อ 1/ ข้อ 2/ ข้อ 3 /ข้อ 4 ระดับดีเด่น ต่อเนื่อง 3 ปี 10
ประเภทรางวัลที่สมัครได้ 1. รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ ครอบคลุมทุกหน่วยบริการสาขา 2. รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ ทำงานร่วมระหว่างหน่วยงาน/องค์กรอื่น 3. รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ เสนอแนวคิดใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ 4. รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ พัฒนาบริการ อย่างต่อเนื่อง 5. รางวัลบริการภาครัฐยอดเยี่ยม ได้ข้อ 1 2 และ 3/4 อย่างน้อย 3 ด้าน 6. รางวัลพัฒนาคุณภาพบริการอย่างต่อเนื่อง ได้ระดับดีเด่น ต่อเนื่อง 3 ปี 11
เกณฑ์การประเมินรางวัล เกณฑ์รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ 2 ส่วน ระดับดีเด่น ระดับดี เกณฑ์รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ 2 ส่วน ส่วนที่ 1 พิจารณาที่กระบวนการจัดการ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการ ให้บริการ (600 คะแนน) 1.รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ 2.รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ 3.รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ 4.รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ ส่วนที่ 2 พิจารณาผลลัพธ์ของการ พัฒนาคุณภาพการให้บริการ (400 คะแนน) 1.มิติด้านความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ 2.มิติด้านคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการ 3.มิติด้านความคุ้มค่า 4.มิติด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนและภาพลักษณ์องค์กร
เกณฑ์การประเมินรางวัล (กรณีพิเศษ) สำหรับหน่วยงานที่พัฒนาการให้บริการได้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย จะได้รับคะแนนส่วนที่ 1 เพิ่มเติมจากคะแนนที่ได้รับอีก 50 คะแนน โดยมีลักษณะผลงานดังต่อไปนี้ 1) บูรณาการงานบริการจากหลายหน่วยงานมาให้บริการในสถานที่เดียว 2) การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการให้บริการ (e-Service) 3) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพในการให้บริการ 4) การพัฒนาระบบจัดการข้อร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพและการให้บริการเชิงรุก 5) ผลการดำเนินงานของผลงานที่เสนอขอรับรางวัลสามารถสะท้อนให้เห็นถึง ความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ
การสมัครขอรับรางวัล ธ.ค.57–13 ก.พ.58 หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย สมัครขอรับรางวัลในนามของกรมอนามัย แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครขอรับรางวัล แบบฟอร์มที่ 2 ประเมินลักษณะของผลงานที่สมัครขอรับรางวัล เบื้องต้น แบบฟอร์มที่ 3 รายงานผลการดำเนินการ เลือกประเภทรางวัล ที่จะส่งสมัครและ กรอกข้อมูลทั่วไป ของผู้สมัคร Checklist ประเมินลักษณะผลงานตามประเภทรางวัลที่ส่งสมัคร จัดทำ Executive Summary ผลงานที่สมัครขอรับรางวัล 10 คำถาม ความยาวไม่เกิน 15 หน้า ธ.ค.57–13 ก.พ.58
กระบวนการตรวจประเมิน และมอบรางวัล รับสมัคร ธ.ค.57–13 ก.พ.58 ตรวจสอบเอกสารเบื้องต้น 16 ก.พ.–20 มี.ค. 58 ไม่รับพิจารณา ตรวจประเมินจากเอกสารรายงาน 23-31 มี.ค. 58 ข้อมูลไม่ครบถ้วน แจ้งผล 24 เม.ย. 58 กลั่นกรองผลการตรวจประเมิน <750 คะแนน ≥ 800 คะแนน No 11 พ.ค. – 30 มิ.ย.58 ไม่ผ่านการตรวจประเมิน พิจารณาให้รับรางวัลระดับดี ตรวจประเมิน ณ พื้นที่ >750 <800 คะแนน Yes อ.ก.พ.ร. พิจารณา ก.ค.58 Yes 31 กรกฎาคม 2558 ประกาศผลการพิจารณา มอบรางวัล สิงหาคม 2558 15
Q&A กพร.แจกคู่มือ หน่วยงานละ 1 เล่ม ช่วยตรวจรายงานผลการดำเนินการ (แบบฟอร์ม 3) 16
ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม 2 รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Thailand Excellent Participatory Governance Awards)
วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการบริหารราชการให้มีระบบหรือวิธีการทำงานที่ ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม เกิดการทำงานร่วมกันในลักษณะหุ้นส่วนการพัฒนา รวมทั้ง เกิดการบูรณาการทำงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้เกิดต้นแบบที่ดี (Best Practice) ของการมีส่วน ร่วมในการบริหารราชการที่จะนำไปสู่การประยุกต์ใช้และขยาย ผลต่อไป เพื่อกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมการทำงานแบบมีส่วนร่วมของ ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่รัฐตลอดจนภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดกรภาครัฐในการตอบสนอง ความต้องการของประชาชน 18
ประเภทรางวัล รางวัลภาพรวมองค์กร โครงการใหม่ + ต่อยอด + ขยายพื้นที่ รางวัลภาพรวมองค์กร รางวัลขยายผลการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ต่อยอด หรือ ขยายพื้นที่ รางวัลพัฒนาการส่งเสริมการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม โครงการใหม่ โครงการใหม่ที่ไม่เคยเสนอผลการดำเนินงานเพื่อรับรางวัล - หรือเคยเสนอผลงานแล้วแต่ไมได้รับรางวัล 19
หลักเกณฑ์การประเมินรางวัล มิติที่ 1 (30 คะแนน)ความสามารถของหน่วยงานภาครัฐ มิติที่ 2 (70 คะแนน) กระบวนการมีส่วนร่วมในการ บริหารราชการอย่างเป็นรูปธรรม บทบาท/ภาวะผู้นำ กลไกที่รองรับ วัฒนธรรมการทำงาน การบริหารเครือข่าย ศักยภาพภาคประชาชน การทำงานแบบบูรณาการ การทำงานร่วมกับภาคส่วนอื่นแบบหุ้นส่วน การเผยแพร่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความพึงพอใจ /เชื่อมั่นภาคประชาชน 20
กระบวนการตรวจประเมิน การดำเนินงานในพื้นที่ และมอบรางวัล รับสมัคร และตรวจ เอกสารใบสมัคร ม.ค.- ก.พ.58 ไม่ผ่าน การประเมิน No ตรวจประเมินใบสมัคร และเอกสารประกอบ มี.ค. 58 ตรวจประเมินผล การดำเนินงานในพื้นที่ เม.ย. – พ.ค. 58 No ไม่ผ่าน การประเมิน การตรวจประเมิน เพื่อยืนยันผล มิ.ย. – ก.ค. 58 Yes อ.ก.พ.ร. พิจารณา ตัดสินรางวัล ก.ค. 58 ประกาศผลการพิจารณา ก.ค. 58 มอบรางวัล สิงหาคม 2558 21
ตัวอย่าง:ส่วนราชการได้รับรางวัล กรมสุขภาพจิต ประเภทพัฒนาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2557 กรมสุขภาพจิต ระดับดีเยี่ยม กรมสุขภาพจิต ได้ให้ความสำคัญกับการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม โดยได้ใช้ TOP Model ในการบริหารโครงการ“พัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพจิตที่ยั่งยืน” โดยให้ ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในรูปแบบของเครือข่าย ที่มาจาก หลายภาคส่วนให้ประชาชนและชุมชนพึ่งพาตนเอง สามารถร่วมกันจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพให้ลดลงได้ โดยเครือข่ายมีบทบาทในการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผล โดยกรมสุขภาพจิตทำหน้าที่เสมือนเป็นพี่เลี้ยงที่อำนวยความสะดวกและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการต้นแบบคือ “โครงการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อลดการดื่มและปัญหาจากการดื่มสุราในชุมชนของ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน”
Q&A รอรายละเอียด คู่มือจากสำนักงาน ก.พ.ร. ช่วยตรวจรายงานผลการดำเนินการ 23
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 3 รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award-PMQA)
ประเภทรางวัล 2559 2555 รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด (หมวด 1 – หมวด 6) การรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 2559 ผ่านการรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 2555 25
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ กรมอนามัย พัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ฯ ระดับ พื้นฐาน ผ่านการรับรองตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน ปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง/โดดเด่น รายหมวด รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2559-2563 2559 2552-2554 2555 26
Q&A Thanks You กพร.แจกเกณฑ์ PMQA 2558 หน่วยงานละ 3-5 เล่ม เยี่ยมเสริมพลัง หน่วยงาน 27