1 บทที่ 7 ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software) เอกสารประกอบคำบรรยายวิชา 310101.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
Advertisements

Medicine คลังยา.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
โดยสำนักงานสาธารณสุขอำเภอพระสมุทรเจดีย์. ส่วนที่ 1 ระบบข้อมูลข่าวสาร 105 ส่วนที่ 1 ระบบข้อมูลข่าวสาร 105 ส่วนที่ 2 ระบบการสื่อสาร 35 ส่วนที่ 3 การปรับสภาพแวดล้อมด้านภูมิสถาปัตย์
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
(กล้องจับที่วิทยากร)
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
เครือข่ายสังคมออนไลน์
กระบวนการของการอธิบาย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
Community of Practice CoP มีหลายรูปแบบ เล็ก หรือ ใหญ่ มีอายุยืนยาว หรือ มีอายุสั้น อยู่รวมกัน หรือ กระจายตัว เป็นเนื้อเดียวกัน หรือ เป็น ส่วนผสมที่หลากหลาย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
Information and Communication Technology Lab 11
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
Google Scholar คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 7 ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software) เอกสารประกอบคำบรรยายวิชา

2 เนื้อหาในบทเรียน 1. รู้จักความหมายของซอฟต์แวร์เพื่อสังคม 2. ชนิดของเครื่องมือสำหรับการสื่อสารในอินเทอร์เน็ต 3. รู้จักตัวอย่างเครื่องมือและซอฟท์แวร์เพื่อสังคมต่าง ๆ 4. การใช้ซอฟต์แวร์ Blog 5. การใช้ซอฟต์แวร์ Folksonomy 6. การใช้ซอฟต์แวร์ KUI

3 ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม ซอฟท์แวร์ทางสังคม คือซอฟต์แวร์ที่ทำให้ผู้คนสามารถ นัดพบปะ เชื่อมสัมพันธ์หรือทำงานร่วมกัน โดยมี คอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง เกิดเป็นสังคมหรือชุมชน ออนไลน์ เช่น - - msn และ Instant messaging - Web - Blog - Wiki เป็นต้น

4 ชนิดของซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (1) การจำแนกกลุ่มซอฟท์แวร์เพื่อสังคม 1. กลุ่มที่ใช้ประโยชน์เพื่อการติดต่อสื่อสาร แบ่ง ออกเป็น 2 แบบคือ - เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารสองฝ่ายไม่พร้อมกัน (asynchronous) ไม่ว่าจะเป็นการเขียน ส่งเสียง ส่ง เป็นวีดีโอ เช่น การใช้ และ Web เป็นต้น - เครื่องมือที่ช่วยในการสื่อสารคนสองคนหรือเป็น กลุ่ม แบบสองฝ่ายพร้อมกัน (synchronous ) เช่น การสนทนาผ่านโปรแกรม Chat, ICQ, MSN เป็นต้น

5 ชนิดของซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (2) 2. กลุ่มที่ใช้ประโยชน์เพื่อการสร้างการจัดการความรู้ - ในแบบเบื้องต้น เช่น WWW และการสืบค้น ข้อมูล - ในระดับสูงขึ้นมา เป็นเครื่องมือเพื่อการใช้ข้อมูล ร่วมกัน รวมทั้งให้ความรู้ และสร้างความรู้ใหม่ เช่น Wiki, Blog เป็นต้น

6 ตัวอย่างเครื่องมือทางสังคม 1. Blog 2. Internet Forum 3. Wiki 4. Instant Messaging 5. Folksonomy 6. KUI

7 Blog

8 - Blog มาจากคำเต็มว่า WeBlog บางคนอ่านว่า We Blog บางคนอ่านว่า Web Log - Blog คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาเป็นเรื่องใดก็ได้ ซึ่ง ข้อมูลประกอบด้วยข้อความ รูป และลิงค์ - การเพิ่มบทความให้กับ blog ที่มีอยู่ เรียกว่า “blogging” - บทความใน blog เรียกว่า “posts” หรือ “entries” - บุคคลที่โพสท์ลงใน entries เรียกว่า “blogger” - ตัวอย่างเว็บ Blogger, Bloggang, Travelblog, Hi5

9 จุดเด่นของ Blog 1. Blog เป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึง ความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านที่เป็น กลุ่มเป้าหมายได้ชัดเจน 2. มีความสะดวกและง่ายในการเขียน Blog ทำให้สามารถ เผยแพร่ ความคิดเห็นของผู้เขียน blog ได้ง่ายขึ้น 3. Comment จากผู้ที่สนใจเรื่องเดียวกันบางครั้งทำให้ เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ

10 ความแตกต่างจากเว็บทั่วไป Blog แตกต่างจากเว็บอื่นๆ อย่างไร - การใส่ข้อมูลใหม่ทำได้ง่าย - มี template อัตโนมัติช่วยจัดการ - มีการกรองเนื้อหาแยกตามวัน ประเภทผู้แต่ง ฯลฯ - ผู้ดูแลจัดการ blog สามารถเชิญ หรือ เพิ่มผู้แต่งคนอื่น โดยจัดการเรื่องการอนุญาตและการเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่าย - เจ้าของ blog จะเป็นผู้สร้างหัวข้อสนทนาเท่านั้น

11 ส่งผลกระทบต่อสังคมและวิถีของผู้คน - บาง Blog ลูกจ้างอาจจะก่อรำคาญใจต่อนายจ้างและทำให้ บางคนถูกไล่ออก - การส่งข้อความบางอย่างสู่สาธารณะ อาจจะมีปัญหาตามมา คือการไม่เคารพทรัพย์สินทางปัญญา หรือการให้ข่าวที่ไม่ น่าเชื่อถือได้ - บางครั้งการสร้างข่าวลือ ก็เอื้อประโยชน์ต่อสื่อสารมวลชนที่ สนใจเรื่องนั้นๆ ได้

12 Blogging และวิถีของผู้คน - Blogger หลายคนสนับสนุนแนวคิดเรื่อง open source - Blog เป็นการรวบรวมความคิดของมนุษย์ สามารถ นำมาใช้ช่วยกับปัญหาด้านจิตวิทยา, อาชญากรรม, ชนกลุ่มน้อย ฯลฯ - Blog เป็นช่องทางเผยแพร่งานพิมพ์อย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพ

13 ประโยชน์ของการใช้บล็อก (blog) - อนุญาตให้ผู้อ่านบล็อกมีส่วนร่วมในการเสนอความ คิดเห็น (comment) ต่อข้อความที่เสนอได้ - ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วไปจะสามารถใช้บล็อกได้ โดยไม่ ต้องมีความรู้ทางเทคนิคมากนัก - บล็อกจะเรียงลำดับตามเหตุการณ์จากปัจจุบันไปอดีต จึง เป็นโอกาสที่ผู้ใช้จะใช้บันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับตัว ผู้บันทึกได้ในทุกๆ เรื่อง ตามประสงค์ของผู้บันทึก - บล็อกจึงสามารถใช้เป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นใน กระบวนการการจัดการความรู้ - การสร้างลักษณะนิสัยให้ประชาคมในสังคมรักการ บันทึกข้อมูลเก็บไว้ในบล็อกจะเป็นประโยชน์อย่างมาก ในอนาคตของสังคมนั้น

14 รูปที่ 8-1 ตัวอย่าง Blog และหน้าจอการ post ข้อความใน Blog ตัวอย่าง Blog (

15 Internet Forum

16 Internet Forum - ทำหน้าที่คล้าย bulletin board และ newsgroup - มีการรวบรวมข้อมูลทั่วๆไป เช่น เทคโนโลยี เกม คอมพิวเตอร์ และการเมือง - ผู้ใช้สามารถโพสหัวข้อลงไปในกระดานได้ - ผู้ใช้คนอื่นๆ ก็สามารถเลือกดูหัวข้อหรือแม้กระทั่งโพส ความคิดเห็นของตนเองลงไปได้

17 Forum เรื่อง Computer และ Internet

18 Forum เรื่อง Game

19 Wiki

20 Wiki(1) - Wiki อ่านออกเสียง "wicky", "weekee" หรือ "veekee" - สามารถสร้างและแก้ไขหน้าเว็บเพจขึ้นมาใหม่ผ่านทาง บราวเซอร์ โดยไม่ต้องสร้างเอกสาร html เหมือนแต่ก่อน - Wiki เน้นการทำระบบสารานุกรม, HOWTOs ที่รวมองค์ ความรู้หลายๆ แขนงเข้าไว้ด้วยกันโดยเฉพาะ - เครื่องมือที่ใช้ทำ Wiki เช่น Wikipedia, MoinMoin, Wackowiki

21 Wikipedia - Wikipedia เป็นระบบสารานุกรมสาธารณะ (Encyclopedia) ที่ทุกคนสามารถใส่ข้อมูลลงไปได้ รองรับภาษามากกว่า 70 ภาษารวมทั้งภาษาไทย - มีการประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ของวิกิที่สำคัญยิ่งในการ สร้างสารานุกรม ที่เปิดโอกาสให้ใครก็ได้มาร่วมกัน สร้างสารานุกรมที่ - วิกิพีเดียในภาคภาษาไทยที่ หรือ - ในปัจจุบันวิกิพีเดียถือว่าเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญ

22 หน้าจอ Wikipedia

23 Instant Messaging

24 Instant Messaging - เป็นการอนุญาตให้มีการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลบน เครือข่ายที่เป็นแบบ relative privacy - ตัวอย่างเช่น Gtalk, Skype, Meetro, ICQ, Yahoo Messenger, MSN Messenger และ AOL Instant Messenger เป็นต้น

25 ตัวอย่างโปรแกรม Instant Messaging

26 Folksonomy

27 ปัจเจกวิธาน (Folksonomy) ก่อนหน้าการกำเนิดขึ้นของปัจเจกวิธาน โดยทั่วไปแล้ว ได้มีการจัดกลุ่มการจัดระเบียบ และค้นหาข้อมูลใน อินเทอร์เน็ตโดยทั่วไปมี 3 แบบ คือ 1. ค้นหาในเนื้อความ (Text Search) 2. เรียงเนื้อหาตามลำดับเวลา (Chronological) 3. แยกตามกลุ่มประเภท (Category, Classification)

28 ค้นหาในเนื้อความ - Google ที่ก่อตั้งโดย Sergey Brin และ Larry Page - ได้ออกแบบเพื่อจัดอันดับความสำคัญของเว็บโดยคำนวณ จากการนับ Link จากเว็บอื่นที่ชี้มาที่เว็บหนึ่ง ๆ -เป็นที่น่าติดตามว่าจะมีเทคนิควิธีในการค้นหาข้อมูลใหม่ๆ อย่างไรต่อไป

29 Sergey Brin และ Larry Page

30 เรียงเนื้อหาตามลำดับเวลา (Chronological) -เนื้อหาข้อมูลจะถูกจัดเก็บเรียงลำดับเวลาโดยแสดงตามเวลา ใหม่ล่าสุดก่อน - เช่น เว็บไซต์ประเภทข่าว อย่าง CNN, BBC และ google news เนื้อหาเก่าจะตกไปอยู่ด้านล่าง - Blog ก็ใช้วิธีจัดเรียงตามเวลาเช่นกัน - ทั้งนี้หากต้องการอ่านเนื้อหาเก่าก็สามารถคลิกดูที่ปฏิทินได้

31 ลักษณะอื่นๆ ที่นำมาใช้ร่วมในการแบ่งประเภทนี้ อาจจะเป็น ช่วงราคาสินค้า, ยี่ห้อสินค้า, ผู้สร้าง, สถานที่ จะช่วยทำให้ ค้นหาข้อมูลได้ง่ายขึ้น เช่น ค้นหาคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ราคา ไม่เกิน 30,000 บาท, ยี่ห้อ Dell เรียงลำดับตามยอดขาย สูงสุดไปต่ำสุด การใช้ลักษณะหลายๆ ด้านมาทำการแยกแยะ ข้อมูลเรียกว่า Faceted Classification แยกตามกลุ่มประเภท (Category, Classification)

32 ปัญหาที่พบเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต ได้แก่ - เนื้อหามีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วรายวัน - การค้นหาข้อมูลที่ตรงตามความต้องการมากที่สุดทำได้ยาก เนื่องจากเนื้อหาที่มีจำนวนมาก - การค้นหาข้อมูลเฉพาะด้านที่ขึ้นกับความสนใจของผู้ทำการ ค้นไม่ตรงจุด - ข้อมูลที่พบอาจจะขาดความน่าเชื่อถือ

33 Open Directory Project ( - เป็นโครงการที่ใช้อาสาสมัครมาช่วยกันจัดระเบียบและแยกกลุ่ม ประเภทของเว็บ - โครงการนี้ก็ยังไม่สามารถโตได้ทันกับการเติบโตของเว็บ ทั้งหมดได้ แต่ก็เป็นแรงผลักให้เกิดระบบปัจเจกวิธาน ขึ้น -ระบบปัจเจกวิธาน เป็นรูปแบบหนึ่งในการจัดการข่าวสาร ความรู้สำหรับปัจเจกบุคคล อันนำมาซึ่งประโยชน์อันกว้างขวาง ในการศึกษาความสนใจและพฤติกรรมของกลุ่มชน หรือสังคม โดยรวมได้

34 กำเนิด ปัจเจกวิธาน -Joshua Schachter เริ่มรวบรวมเก็บเว็บต่าง ๆ เป็น Bookmark ของตนเองคนเดียวไว้มากและใช้ Keyword เพื่อจัดกลุ่มแทน เช่น “search engine tools” และ “password security tools” - เมื่อต้องการเรียกเว็บที่มีคำว่า tools ก็จะสามารถดึง รายชื่อเว็บทั้งหมดออกมาได้ทันที - ปัจเจกวิธาน เรียก keyword นี้ว่า tag เป็นคำสัก 2-7 คำ ที่เกี่ยวกับเว็บใหม่ที่สามารถจัดเป็นกลุ่มเว็บได้

35 Joshua Schachter ผู้ก่อตั้งเว็บ del.icio.us

36 วิธีการใช้ tag นี้ มีความสะดวกตรงที่ไม่ต้องจำลำดับชั้น การจัดระเบียบเช่นเดิม การค้นเจอเว็บก็ได้จาก tag หลายๆ ตัวได้ ไม่จำกัดอยู่แต่ข้อมูลใน Folder เดียวกัน Joshua ทำให้ทุกๆ คนสามารถตรวจดูเว็บที่มีการตั้งชื่อ tag โดยผู้อื่นได้ รูปที่รวม tag คำว่า tools

37 ที่มาของคำว่า Folksonomy - คำว่า Folksonomy นี้ มีที่มาจากการที่ ใครก็ได้ทุกๆ คน (Folk) มีสิทธิในการจัดทำอนุกรมวิธาน (Taxonomy) หรือ จัดกลุ่มประเภทหมวดหมู่ของเอกสารในโลก อินเทอร์เน็ต ให้อยู่ในแบบที่ตนเข้าใจ - ต่างจากการทำ Taxonomy เช่น การจัดประเภทสัตว์หรือ พืช ที่อาศัย ผู้รู้เป็นผู้ดำเนินการและให้ผู้อื่นจัดว่าอะไรควร จะอยู่ประเภทไหน ตามที่ผู้รู้นั้นได้กำหนดไว้แล้ว

38 คุณลักษณะพิเศษที่ได้จาก ปัจเจกวิธาน - กระแสการติดตามเว็บใหม่ๆ ตามชื่อ Tag (Stream and Feed) - การเห็นกลุ่ม Tag ก่อตัวกันมองคล้ายกลุ่มเมฆตาม หัวเรื่องที่สนใจ (Tag Cloud) - การให้คะแนนความนิยม (Rating and Popularity) - การท่องอินเทอร์เน็ตอย่างที่มีเนื้อหาข้อมูลข้ามสายกัน (Cross-Navigation)

39 กระแสการติดตามเว็บใหม่ ๆ ตามชื่อ Tag (Stream and Feed) -จากตัวอย่าง มีหน้าเฉพาะสำหรับ Tag คำว่า Tools ซึ่ง ก็อาจจะมีหน้าเฉพาะอื่น ๆ ให้ เข้าไปติดตาม Tag เฉพาะใดๆ ได้ เช่น ถ้าท่านสนใจเรื่องภาษาไทย ท่าน อาจจะตามอ่านได้จากหน้า “tag/thai” หรือ “tag/thai+language” - นอกจากนี้ยังมีการสร้าง RSS feed สำหรับหน้า ดังกล่าว เพื่อใช้เตือนทาง RSS reader ว่ามีเนื้อหา ใหม่ๆ ตาม Tag ดังกล่าว เกิดขึ้นเพิ่มขึ้นมา ดังรูป RSS – Really Smple Syndication

40 ตัวอย่าง RSS feed

41 การเห็นกลุ่ม Tag ก่อตัวกันมองคล้ายกลุ่มเมฆตามหัวเรื่องที่ สนใจ ซึ่งจะชี้ให้เห็นได้ว่าบุคคลนั้นสนใจเรื่องใดบ้าง ทำได้ทั้งของทุก ๆ คนรวมกัน หรือ เฉพาะบุคคล Tag Cloud

42 การให้คะแนนความนิยม(Rating and Popularity) ตัวอย่างการค้นหาเว็บที่เกี่ยวกับ Wallpaper ใน del.icio.us การแสดงจำนวนผู้ใช้ที่ได้ใส่ tag ให้กับเว็บนั้นๆ ถ้ามีจำนวนผู้ใช้ที่ใส่ tag มากก็แสดงว่าเว็บนั้นเป็น ที่นิยม

43 Cross-Navigation เป็นการท่องอินเทอร์เน็ตอย่างที่มี เนื้อหาข้อมูลข้ามสายกัน - การใช้แกนในการค้นหาถึงสามอย่าง ช่วยให้พบข้อมูล ใหม่ๆ เพิ่มขึ้น + User: เว็บทั้งหมดที่ผู้ใช้ผู้นี้ใส่ tag ให้และเรียกดู tag cloud ของผู้ใช้ผู้นี้ได้ด้วย + Tag: เว็บทั้งหมดที่มีการใส่ tag และเรียกดู tag ที่ เกี่ยวข้องได้ด้วย + URL: เว็บนี้มีใครใส่ tag บ้าง และใส่ว่าอะไรบ้าง - การค้น อาจจะเริ่มจากที่ User แล้วไปที่แกน tag และทำ ให้พบ tag ที่เกี่ยวข้องได้อีก โดยไม่ได้ตั้งใจ Cross-Navigation

44 การนำไปพบกับเนื้อหาอื่นๆ การใช้ tag สามารถนำไปพบกับเนื้อหาอื่นๆ ได้นอกจาก URL เช่น - Flickr.com เก็บ และ ใส่ tag ให้กับรูปภาพ - CiteULike.org เก็บและใส่ tag ให้เอกสารงานวิจัย (academic paper) - 43Things.com บันทึกสิ่งที่อยากทำในชีวิตพร้อมกับ ใส่ tag ให้กิจกรรมนั้น - Tagzania.com บันทึกสถานที่ และใส่ tag ให้กับ สถานที่หรือแผนที่

45 ตัวอย่าง tag/cat รวมภาพที่เกี่ยวกับแมวบน Flickr.com

46 อนาคตของ ปัจเจกวิธาน - ระบบการใช้ tag จะมีการนำไปประยุกต์ใช้กับ Blog และ Wiki เพื่อความสะดวกให้การค้นหาความรู้ต่าง ๆ ที่บรรจุไว้ในซอฟต์แวร์ทั้งสอง - ในระยะยาวอาจจะมีการแข่งขันของโปรแกรมลักษณะนี้ อีกก็เป็นไปได้ โดยที่อาจจะมีคุณลักษณะเพิ่มเติมที่ง่าย ต่อการใช้งาน และมีความสามารถใหม่ๆ

47 ประโยชน์ของการใช้ปัจเจกวิธาน (folksonomy) - ใช้จัดหมวดหมู่ แห่งสรรพสิ่งที่ผู้ใช้สนใจ โดยผู้จัดหมวดหมู่เป็นผู้ กำหนดเอง - ไม่มีปัจเจกวิธานตัวใดที่สามารถใช้จัดหมวดหมู่ได้ทุกสรรพสิ่ง มี เฉพาะเรื่องให้เลือกใช้ เช่น - การจัดหมวดหมู่ของรูปภาพ - การกำหนดตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ - การจัดหมวดหมู่ลิงค์เชื่องโยงในอินเทอร์เน็ตที่สนใจ - การเปิดโอกาสผู้ใช้จัดหมวดหมู่สารสนเทศ ด้วยตนเองได้โดย ปราศจากการบงการ จากผู้อื่นหรือจากระบบแต่อย่างใด (เพียงแต่ ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์)

48 KUI

49 KUI (Knowledge Unifying Initiator)(1) - KUI หมายถึง กลุ่มผู้รวบรวมความรู้ - KUI เป็นซอฟต์แวร์ทางสังคม (Social Software) และการจัดการความรู้ (Knowledge Management) - KUI ประกอบด้วย 3 หมวดหลักดังนี้ - Localization เป็นการเสนอคำแปลความหมายของประโยค วลี หรือคำศัพท์ - Opinion Poll เป็นการเสนอความคิดเห็นจากการสำรวจ ความคิดเห็น - Public Hearing เป็นข้อเสนอแนะ การตีความ ประชา พิจารณ์ ร่างกฎหมาย

50 KUI (Knowledge Unifying Initiator)(2) - KUI มีประโยชน์ในการสร้างความรู้ใหม่ๆ คือมีการ เสนอประเด็นความเห็นร่วมกัน ซึ่งโต้แย้งถกเถียงได้ คล้ายเว็บบอร์ด - ที่แตกต่างจากเว็บบอร์ด คือ ถ้าประเด็นความเห็นใด สมาชิกให้คะแนน (Vote) น้อย หรือคนไม่สนใจ ประเด็นนั้นก็จะถูกลบออกไป - เกณฑ์การให้คะแนน (Vote) นั้น ต้องมีสมาชิกให้ คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ของสมาชิกที่ได้ทำการ ลงทะเบียน

51 KUI (Knowledge Unifying Initiator)(3) - การใช้งาน KUI แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ สำหรับบุคคล ทั่วไป และสำหรับสมาชิก - มีส่วน Dictionary จะแสดงผลข้อมูลคำศัพท์ และใน Documentations เป็นการอธิบายการทำงานในแต่ละ โมดูล - สมาชิกสามารถเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและอภิปรายได้ - ถ้าหัวข้อใดที่สมาชิกเป็นคนเพิ่มเข้าไปเอง ก็จะสามารถ แก้ไขชื่อหัวข้อได้ด้วย

52 ตัวอย่างหน้าจอการใช้งาน KUI

53 การใช้ซอฟต์แวร์เพื่อสังคมในการจัดการความรู้ - หัวใจของกระบวนการจัดการความรู้ เน้นที่การ แบ่งปันความรู้ - มีการใช้เทคโนโลยีในการค้นหาความรู้ และการ จัดเก็บความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ มากมาย เช่น - สร้างฐานความรู้ (knowledge base) - ส่งเสริมการนำซอฟต์แวร์เพื่อการทำงานร่วมกัน เช่น groupware มาใช้ประโยชน์

54 ประโยชน์ของการใช้โปรแกรม “คุย” หรือ “KUI - เพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกันในสังคม ในลักษณะ ของการแลกเปลี่ยนความรู้ - ให้ปัจเจกบุคคลสามารถเข้ามาทำงานร่วมกัน โดยมี อิสรเสรีในการนำเสนอความรู้ในเรื่องที่ตนสนใจ - ใช้หลักการของการเคารพความเห็นของส่วนรวม ปฏิบัติตามความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ แต่ยังรับฟัง ความคิดเห็นที่ดีของคนส่วนน้อย - สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กับเหตุการณ์ต่างๆ ที่ กำลังเป็นที่สนใจและใช้เพื่อจรรโลงสังคมได้

55 ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของโปรแกรม KUI - สร้างความเข้าใจอันดีในภารกิจของคณะกรรมการ ตรวจสอบการกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ เช่น - ให้ภาคประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ในภารกิจของ คณะกรรมการตรวจสอบ - ให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ - เพื่อแจ้งข่าวสาร ข้อเท็จจริง ที่ส่งเสริมและสร้างความ เข้าใจอันดีต่อกิจกรรมการตรวจสอบของคณะกรรมการฯ -การมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็นในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่

56 สรุป การใช้ประโยชน์จากซอฟต์แวร์เพื่อสังคม - ใช้ในการประมวลทางสังคม (social computing) - สร้างระบบการมีส่วนร่วมจากสมาชิกในสังคม - ประชาคมมีโอกาสที่จะเข้าถึงและทำงานเพื่อสังคมของ ตนด้วยตนเอง - เน้นให้คงความเป็นปัจเจก (individual) ของบุคคลไว้ - ให้โอกาสปัจเจกบุคคลสามารถแสดงออกสู่สาธารณะ

57 คำถาม ?? คำถาม ??