สรุปความก้าวหน้าโครงการ 3G 20 March 2004. กลุ่ม 2 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ล่วงหน้าเบสแบนด์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
สรุปความก้าวหน้าโครงการ 3G กลุ่ม 2 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ล่วงหน้าเบสแบนด์ 28 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต และ คณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
สรุปความก้าวหน้า Group 2 Preprocessing Unit April 30, เมษายน G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium (TWC) Thai Wireless.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายสัณห์ อุทยารัตน์ ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอล เบสแบนด์ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
Material requirements planning (MRP) systems
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
SMS News Distribute Service
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การส่งมอบบ้าน Pre-Cast(PCM) ให้ทันเวลาทำสัญญาและได้มาตรฐาน LH
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปความก้าวหน้าโครงการ 3G 20 March กลุ่ม 2 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ล่วงหน้าเบสแบนด์

Outline Cell Search SimulationCell Search Simulation Channel Estimator SimulationChannel Estimator Simulation WCDMA End-to-End Physical layer Simulator (WEEP)WCDMA End-to-End Physical layer Simulator (WEEP) คอรีเลเตอร์โดยใช้เทคนิคสวิตช์ กระแส คอรีเลเตอร์โดยใช้เทคนิคสวิตช์ กระแส

Cell Search Simulation

Missing Detection Rate VS. SNR Simulation Results

จากผลการจำลองการทำ CellSearch โดยทำการเปลี่ยนค่า SNR ของระบบ จาก -5 dB จนถึง 5 dB จะเห็นว่าโปรแกรมที่ใช้ในการจำลองการทำ Cell Search นี้ สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องที่ค่า SNR ต่ำสุดที่ –2 dB โดยประมาณเท่านั้น ซึ่งยัง ไม่พอกับมาตรฐานของ WCDMA 3G ที่ต้องการที่ –3 dB

Channel Estimator Scrambling Code S[n] x Channelization Code C ch,SF [n] x CPICH pilot symbol x l-th finger input r(t+d l T c ) Channel Estimation Filter (*) x Delay (n d ) y l [k-n d ] To combiner Data symbol Pilot symbol

Simulation Results BER performance when f d = 20 Hz

Simulation Results BER performance when vary Doppler frequency, DPCH Ec/Ior = -5 dB

WEEP Simulator สรุปงานที่ได้ดำเนินการแล้ว เสร็จ  รวบรวม input parameters ที่จำเป็นสำหรับ บล็อกการทำงานต่างๆ  สร้างโมเดลของช่องสัญญาณที่ใช้ในการ จำลองการทำงาน  สร้าง Dialog Boxes สำหรับผู้ใช้ป้อนข้อมูล และติดต่อกับโปรแกรม  ส่วนการแสดงผลการทำงานได้ ทำการสร้าง เมนูเสร็จแล้ว โดยพัฒนา ในส่วนการแสดงผล จาก โปรแกรม Matlab โดยใช้ Matlab to C++ Compiler ซึ่งจะทำให้การแสดงกราฟต่างๆ เป็นไปโดยง่ายบน C++ platform

งานที่จำเป็นต้องดำเนินการ ต่อ  เนื่องจาก Block ที่จำเป็นบางส่วนยังดำเนินการ ไม่แล้วเสร็จ ดังนั้น เมื่อ Block ต่างๆในส่วนนี้ ได้พัฒนาเสร็จแล้ว จำเป็นต้องทำการ เชื่อม (link) Block ในส่วนนี้เข้ากับระบบโดยรวม แก้ไขตัว Source Code ของโปรแกรมบางส่วน เพื่อให้มีการประมวลผลที่เร็วขึ้น ทำการตรวจสอบผลที่ได้จากโปรแกรมว่า น่าเชื่อถือได้หรือไม่ อีกนัยหนึ่ง กล่าวคือ เช็ค ความถูกต้องของตัวโปรแกรม WEEP Simulator WEEP Simulator

แผนการดำเนินงานต่อไป  ทำการเชื่อมบล็อกการทำงานต่างๆ ของระบบ ทั้งหมดเข้าด้วยกัน  ปรับปรุงโปรแกรมให้ประมวลผลเร็วขึ้น  ตรวจสอบความถูกต้องในการทำงานของ โปรแกรม

is an input sample is the weight number of taps คอรีเลเตอร์ คือ อุปกรณ์ที่ช่วยบ่งบอกถึงความสัมพันธ์กันของ สัญญาณ 2 สัญญาณ ว่ามีความคล้ายกันหรือไม่ ถ้ามีความ คล้ายกันมากค่าของการคอรีเลตจะมีค่าสูงแต่ถ้ามีความคล้ายกัน น้อยค่าคอรีเลตจะมีค่าต่ำ Switched-current Correlator

ปรับปรุงโครงสร้างเป็น แบบขนาน สามารถกำจัด สัญญาณรบกวนสะสมได้ โครงสร้างแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแอนะลอก และดิจิตอล ส่วนแอนะลอกเป็นวงจร กรองแบบ FIR ใช้เทคนิค SI ส่วนดิจิตอลใช้หมุนค่า ส. ป. ส. ให้ส่วนแอนะลอก เทคนิคสวิตช์กระแสไม่ สามารถสุ่มสัญญาณใหม่พร้อม กับคงค่าสัญญาณเก่าได้ จึง ต้องเพิ่มจำนวนแท็ปขึ้นอีก 1 แท็ป ส่วน S/H กับตัวคูณ สามารถสร้างรวมกันได้ เพื่อ ลดกำลังงานลงครึ่งหนึ่ง โครงสร้างจริงในทางปฏิบัติที่นำเสนอ

เหตุจูงใจที่นำเทคนิค สวิตช์กระแสมาใช้ 1. การสูญเสียกำลังงานต่ำ : ทำงานได้ที่ระดับ ศักดาต่ำ 2. ความซับซ้อนต่ำ : วงจรพื้นฐานอาศัย ทรานซิสเตอร์จำนวนน้อย 3. ความเร็วสูง : ประมวลผลในโหมดกระแส 4. ใช้พื้นที่ชิปน้อย : ส่วนขยายกับจำสัญญาณอยู่ใน อุปกรณ์เดียวกัน 5. ราคาถูก : สามารถสร้างได้ในกระบวนการผลิต ดิจิตอลพื้นฐาน เทคนิคสวิตช์กระแสสำหรับการ ประมวลผลสัญญาณ

ทรานซิสเตอร์แบบ Source Follower ตัวบน ช่วยควบคุมกระแสให้นิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง ตามการ เปลี่ยนแปลงของ แหล่งจ่ายศักดา โครงสร้างเป็นแบบผลต่าง ที่สมมาตรกัน ขณะสุ่มสัญญาณสวิตช์ชุดบนจะปิด หมด ขณะคงค่าสัญญาณสวิตช์จะถูกควบคุมโดยค่า สัมประสิทธิ์ ส่วนควบคุมค่า สัมประสิทธิ์ ส่วนกลับ เครื่องหมาย สร้าง SHC รวมกับตัวคูณเพื่อช่วยลดกำลังงานลง ครึ่งหนึ่ง เทคนิค SI สำหรับการสร้าง SHC รวมกับ Multiplier แบบหลายบิต

คอรีเลเตอร์เป็นแบบ 31 แท็ป ทำงานที่ ความถี่สุ่ม 80 MS/s S/H และตัวคูณ ออกแบบให้ทำงานที่ ความถี่สุ่ม 80 MS/s มีความแม่นยำ 7 บิต SNR=49 dB ใช้แหล่งจ่าย 2 โวลต์ ค่า ส. ป. ส. ที่นำมาทดสอบเป็นลำดับข้อมูล PN ความยาว 31 แท็ป สังเคราะห์จากสมการ polynomial อันดับที่ 5 (1 + x 2 + x 5 ) วงจรรวมทั้งหมดกินกำลังงาน 3.05 mW ใช้เทคโนโลยี CMOS 0.35  m 3V คอรีเลเตอร์ในระบบ WCDMA ที่ทำการทดสอบ

ผลการทดลองในเชิงเวลา เทียบกับ MATLAB correlator output Real input

ใช้เทคโนโลยี AMS CMOS 0.35 ไมครอน เลย์เอาต์วงจร S/H และ Multiplier

แผนงานต่อไป สร้างโมดูลคอรีเลเตอร์ขนาด 32 แท็ป นำโมดูลขนาด 32 แท็ป จำนวน 4 โมดูลมาต่อร่วมกันเพื่อสร้างเป็นคอ รีเลเตอร์ขนาด 128 แท็ป