หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
การเขียนผังงานเบื้องต้น (Flow chart)
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
“หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม” (ง32106)
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
บทที่ 3 เทคนิคการจัดทำเอกสาร ของระบบสารสนเทศ
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
สาระการเรียนรู้ ความหมายของอัลกอริทึม วิธีการเขียนผังงานที่ดี
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
คณะแพทยศาสตร์ ด้วยความยินดียิ่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอต้อนรับทุกท่าน
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอนคือ 1.วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 2.วางแผนในการแก้ปัญหา 3.ดำเนินการแก้ปัญหา 4.ตรวจสอบและปรับปรุง

1.วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอนคือ(ต่อ) 1.วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 1.1 ระบุข้อมูลนำเข้า คือ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา 1.2 ระบุข้อมูลออก คือ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบ 1.3 ระบุวิธีประมวลผล คือ การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก

ขั้นตอนในการแก้ปัญหา มี 4 ขั้นตอนคือ(ต่อ) 2.วางแผนในการแก้ปัญหา การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools and Algorithm Development) ในการแก้ปัญหาที่ได้วิเคราะห์แล้วจากขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนนี้จะเริ่มจากการเลือกเครื่องมือในการแก้ปัญหา และขั้นตอนวิธีก็มีความสำคัญในการแก้ปัญหา เช่น ผังงาน(Flowchart) หรือรหัสจำลอง (Pseudo Code) ที่จะช่วยให้ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาชัดเจนมากยิ่งขึ้น

สัญลักษณ์ผังงาน Flowchart Symbol

Generally Accepted Meanings The Terminator Symbol ใช้แทนจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน

Generally Accepted Meanings The Process Symbol ใช้แทนการปฏิบัติงาน การกำหนดค่าตัวแปร ฟังก์ชันการทำงานต่างๆ

Generally Accepted Meanings The Document Symbol ใช้ในการแสดงผลข้อมูลโดยการพิมพ์ออกมาทางเครื่องพิมพ์ (Printer) (เช่น การสร้างรายงาน)

Generally Accepted Meanings Off-page Connector Symbols ใช้เพื่อเชื่อมต่อผังงานไปหน้าอื่นๆ กรณีที่ผังงานที่เขียนมีมากกว่า 1 หน้ากระดาษ นิยมเขียนหมายเลขหน้ากำกับในสัญลักษณ์นี้ด้วย

Generally Accepted Meanings The Input/Output Symbol ใช้ในการรับข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออก(แสดงผลลัพธ์)ทั่วไป โดยไม่ระบุอุปกรณ์

Generally Accepted Meanings The Decision Symbol ใช้ในการตัดสินใจ ตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อเลือกหนึ่งทางเลือกที่จะต้องปฏิบัติ

Generally Accepted Meanings The Connector Symbol ใช้แทนการเชื่อมต่อลูกศรบอกทิศทาง ในหน้าเดียวกัน กรณีต้องเขียนแยกกัน เขียนต่อเนื่องกันไม่ได้

Generally Accepted Meanings The Display Symbol ใช้แทนการแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ (Monitor)

Generally Accepted Meanings The Manual input Symbol ใช้แทนการป้อนข้อมูลด้วยตนเอง (ผ่านแป้นพิมพ์)

Generally Accepted Meanings The Flow Line Symbol ลูกศรบอกทิศทาง ใช้บอกทิศทางการไหลของ Flowchart ว่าไปในทิศทางใด

Example 1. วิเคราะห์รายละเอียดและเขียนผังงานจากปัญหาต่อไปนี้ ร้านอาหารแห่งหนึ่งมอบส่วนลด 10% ทันทีที่ลูกค้ามียอดทานอาหาร(Amt) เกิน 1,000 บาท ต้องการคำนวณหาเงินที่ลูกค้าจะต้องจ่ายแสดงผลออกทางจอภาพ

Example 1.1 วิเคราะห์รายละเอียดของปัญหา ข้อมูลนำเข้า คือ ค่าอาหารที่ลูกค้าทาน ให้เก็บไว้ที่ตัวแปร X ข้อมูลออก คือ ค่าอาหารที่หักส่วนลดแล้ว (ถ้ามี) เก็บไว้ที่ตัวแปร R วิธีการประมวลผล จากปัญหาให้หาค่าอาหารที่ลูกค้าต้องจ่าย มีวิธีการประมวลผลดังนี้ 1) รับค่าอาหารที่ลูกค้าทานทั้งหมดเข้ามา 2) ตรวจสอบว่าเกิน 1,000 บาทหรือไม่ถ้าเกิน ก็หาส่วนลด 10% โดย R =X – ((10*X) /100) ถ้าไม่เกินแสดงว่าลูกค้าจ่ายค่าอาหารเท่าที่ทานไม่ได้ส่วนลด

Example 1.1 วิเคราะห์รายละเอียดของปัญหา 3) แสดงผลค่าอาหารที่ลูกค้าต้องจ่ายออกทางจอภาพ

Example 1.2 ผังงาน เริ่มต้น รับค่า X จริง เท็จ X>1000 R=X R=X-((10*X)/100) แสดงค่า R สิ้นสุด

Example สมมติ ลูกค้าทาน 800 บาท เริ่มต้น X = 800 รับค่า X จริง เท็จ R=X R=X-((10*X)/100) แสดงค่า R สิ้นสุด X = 800 800 > 1000 R = 800 R = 800

Example สมมติ ลูกค้าทาน 1500 บาท เริ่มต้น รับค่า X X>1000 จริง เท็จ R=X R=X-((10*X)/100) แสดงค่า R สิ้นสุด X = 1500 1500 > 1000 R = 1500 – ((10*1500)/100) R = 1350