อาจารย์อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในเกาหลีใต้ Cyber crime and IT law in South Korea ลักขณา สุทธานุช คณะวิทยาศาสตร์ สาขา.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่า ด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำ เข้า ผู้ส่งออก.
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ภญ.จีรัง ภมรสูต สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
หน่วย ตรวจสอบ ภายใน Ready. แนวทางการ ตรวจสอบภายใน  อำนาจหน้าที่  ข้อปฏิบัติ / แนวทาง ปฏิบัติ / ซักซ้อม  ดุลยพินิจ  งบประมาณ  ประโยชน์  โปร่งใส ตรวจสอบได้
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
กิจกรรมอบรมความรู้ด้าน ICT เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม หลักสูตร การสร้างงานสื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อประชาสัมพันธ์ สำหรับคนพิการ และ ผู้ด้อยโอกาส (เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ)
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551
ระบบรักษาความปลอดภัย
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยการใช้กฎหมาย
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
มาตรการปกป้องความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของผู้ให้บริการออนไลน์ไทย
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
Internet Technology and Security System
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ เนื่องจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้การประกาศใช้ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2550 ในด้านของการศึกษา.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
SMS News Distribute Service
ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและคุ้มครองผู้บริโภค
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม นำเสนอ อาจารย์อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ จัดทำโดย รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การประยุกต์อินเทอร์เน็ตสำหรับธุรกิจ นายวิชิต นามสิงห์ รหัสนักศึกษา 54100265

โครงสร้าง พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550 คำนิยาม ม.๓ หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการ ผู้ใช้บริการ พนักงานเจ้าหน้าที่ รัฐมนตรี กระทำต่อคอมพิวเตอร์ ใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ ม.๒๖: เก็บข้อมูลจราจร ๙๐ วันไม่เกิน ๑ ปี อำนาจหน้าที่ (ม.๑๘): (๑) มีหนังสือ/เรียกเพื่อให้ถ้อยคำ/เอกสาร (๒) เรียกข้อมูลจราจร (๓) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลที่อยู่ในครอบครอง (๔) ทำสำเนาข้อมูล (๕) สั่งให้ส่งมอบข้อมูล/อุปกรณ์ (๖) ตรวจสอบ/เข้าถึง (๗) ถอดรหัสลับ (๘) ยึด/อายัดระบบ ม.๕: การเข้าถึงระบบคอมฯ ม.๖: การล่วงรู้มาตรการการป้องกันการเข้าถึง ม.๗: การเข้าถึงข้อมูลคอมฯ ม.๘: การดักรับข้อมูลคอมฯ ม.๙: การรบกวนข้อมูลคอมฯ ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๓: การจำหน่าย/ เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด ม.๑๑: Spam mail ม.๑๔: การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์/เผยแพร่เนื้อหาอันไม่เหมาะสม ม.๑๕: ความรับผิดของผู้ให้บริการ ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ/ดัดแปลง ม.๒๗: ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรือคำสั่งศาล ระวางโทษปรับ ข้อจำกัด/การตรวจสอบการใช้อำนาจ(ม.๑๙): ยื่นคำร้องต่อศาลในการใช้อำนาจตาม ม.๑๘ (๔)-(๘) , ส่งสำเนาบันทึกรายละเอียดให้แก่ศาลภายใน ๔๘ ชม., ยึด/อายัดห้ามเกิน ๓๐ วัน ขอขยายได้อีก ๖๐ วัน (ม.๑๘(๘)) ม.๑๒ บทหนัก การ block เว็บไซต์ พนักงานเจ้าหน้าที่โดยความเห็นชอบของรมว.ทก.ยื่นคำร้องต่อศาล (ม.๒๐) มีผลบังคับใช้ภายหลังประกาศใช้ ๓๐ วัน (ม.๒) ความรับผิดของพนักงานเจ้าหน้าที่: (ม.๒๒ ถึง มาตรา ๒๔) กระทำความผิดนอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร์ (ม.๑๗) พยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบ อ้างและรับฟังมิได้ (ม.๒๕) การรับฟังพยานหลักฐานที่ได้มาตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ (ม. ๒๕) การแต่งตั้ง/กำหนดคุณสมบัติพนักงานเจ้าหน้าที่/การประสานงาน (ม.๒๘-๒๙) 2

หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘-๓๐ โครงสร้างของกฎหมาย มี ๒ หมวดหลักๆ หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมวดนี้มีมาตราที่สำคัญคือ มาตรา ๕ ถึง มาตรา ๑๖ หมวด ๒ พนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๘-๓๐

กรณีกระทำต่อคอมพิวเตอร์ หมวด 1. ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กรณีกระทำต่อคอมพิวเตอร์ ม.๕: การเข้าถึงระบบคอมฯ ม.๖: การล่วงรู้มาตรการการป้องกันการเข้าถึง ม.๗: การเข้าถึงข้อมูลคอมฯ ม.๘: การดักรับข้อมูลคอมฯ ม.๙: การรบกวนข้อมูลคอมฯ ม.๑๐: การรบกวนระบบคอมฯ ม.๑๓: การจำหน่าย/ เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้กระทำความผิด

หมวด 1. ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ หมวด 1. ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กรณีใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด ม.๑๑: Spam mail ม.๑๔: การปลอมแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์/ เผยแพร่ เนื้อหาอันไม่เหมาะสม ม.๑๕: ความรับผิดของผู้ให้บริการ ม.๑๖: การเผยแพร่ภาพจากการตัดต่อ/ ดัดแปลง

กระทำต่อคอมพิวเตอร์ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่ง ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตน ต้องให้ระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ อ้างอิงจาก http://www.opel.in.th/index.php?topic=2692.0

กระทำต่อคอมพิวเตอร์ มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่น จัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ อ้างอิงจาก http://thai-cybercrime.blogspot.com/search/label

กระทำต่อคอมพิวเตอร์ มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สำหรับตนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ อ้างอิงจาก http://www.siamintelligence.com/massenger-cyber/

กระทำต่อคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้น มิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ อ้างอิงจาก..http://iamblog-cpe.blogspot.com/2012/08/blog-post.html

กระทำต่อคอมพิวเตอร์ มาตรา ๙ ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือ บางส่วนซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ อ้างอิงจาก..http://iamblog-cpe.blogspot.com/2012/08/blog-post.html

กระทำต่อคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติได้ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ อ้างอิงจาก http://iamblog-cpe.blogspot.com/2012/08/blog-post.html

กระทำต่อคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๓ ผู้ใดจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือ มาตรา ๑๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ อ้างอิงจาก http://www.tispa.or.th/tispa2010/info_detail.php?id=12

มาตรา ๑๑สแปมเมล์ (Spam Mail) กรณีใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด มาตรา ๑๑สแปมเมล์ (Spam Mail) ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท อ้างอิงจาก http://thai-cybercrime.blogspot.com/2009/06/2550.html

กรณีใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด มาตรา ๑๔นำเข้า ปลอม/ เท็จ /ภัยมั่นคง /ลามก/ ส่งต่อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผู้ใดกระทำความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (๑) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน

(๓) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง แห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) อ้างอิงจาก http://thai-cybercrime.blogspot.com/2009/06/2550.html

กรณีใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด มาตรา ๑๕ ความรับผิดของผู้ให้บริการ มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมให้มีการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำความผิดตาม มาตรา ๑๔ อ้างอิงจาก...http://hilight.kapook.com/view/71845

กรณีใช้คอมพิวเตอร์กระทำความผิด มาตรา ๑๖การเผยแพร่ภาพ ตัดต่อ/ดัดแปลง มาตรา ๑๖ ผู้ใดนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย

ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าข้ อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทำไม่มีความผิดความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย อ้างอิงจากhttp://testcreatebg.blogspot.com/

รูปแบบการกระทำความผิด (Information Security) ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย ฐานความผิด สปายแวร์ (Spyware) สนิฟเฟอร์ (Sniffer) - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet มาตรา ๕ เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ มาตรา ๖ เปิดเผยมาตรการป้องกันระบบ มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๘ ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service) มาตรา ๙ รบกวน/ทำลาย ข้อมูลคอมพิวเตอร์ มาตรา ๑๐ รบกวน/ทำลาย ระบบคอมพิวเตอร์ สแปม (Spamming) รบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ตามปกติ อาจถึงขั้นทำให้เป็น Zombie มาตรา ๑๑ การทำสแปม การกระทำความผิดข้างต้น - ผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ หรือทางเศรษฐกิจ ความปลอดภัยสาธารณะ การบริการสาธารณะ อาจเกิดสงครามข้อมูลข่าวสาร (Information Warfare) มาตรา ๑๒ เหตุฉกรรจ์ อันเกิดจากการกระทำข้างต้น

รูปแบบการกระทำความผิด (Information Security) ตัวอย่าง รูปแบบการกระทำความผิด ตัวอย่างผลกระทบต่อ ความมั่นคงปลอดภัย (Information Security) & ความเสียหาย ฐานความผิด สปายแวร์ (Spyware) สนิฟเฟอร์ (Sniffer) - การสอดแนมข้อมูลส่วนตัว - การแอบดักฟัง packet มาตรา ๑๓ การจำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ การใช้ชุดคำสั่งในทางมิชอบ (Malicious Code) เช่น Viruses, Worms, Trojan Horses - การตั้งเวลาให้โปรแกรมทำลายข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ - การทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทำงาน (Denial of Service) มาตรา ๑๔ การนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม, เท็จ หรือไม่เหมาะสม หรือการส่งต่อข้อมูล (forward) นั้น การโพสต์หรือนำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามมาตรา ๒๔ ความเสียหายกับบุคคลอื่น มาตรา ๑๕ ความรับผิดฐานสนับสนุนการกระทำความผิดของผู้ให้บริการ การตัดต่อภาพ ผู้ถูกกระทำถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพ เป็นเหตุให้ถูก ดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๕ เข้าถึงคอมฯ โดยมิชอบ มาตรา ๕ เข้าถึงคอมฯ โดยมิชอบ ไม่เกิน 6 เดือน ไม่เกิน 10,000 มาตรา ๖ ล่วงรู้มาตรการป้องกัน ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 มาตรา ๗ เข้าถึงข้อมูลโดยมิชอบ ไม่เกิน 2 ปี ไม่เกิน 40,000 มาตรา ๘ การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000 มาตรา ๙ การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 มาตรา ๑๐ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ - - ไม่เกิน 10 ปี 3 - 15 ปี มาตรา ๑๑ สแปมเมล์ ไม่เกิน 100,000 - มาตรา ๑๒(๑) ก่อความเสียหายแก่ข้อมูล ไม่เกิน 10 ปี (และ) ไม่เกิน 200,000 มาตรา ๑๒(๒) กระทบความมั่นคง 3 - 15 ปี 60,000 - 300,000 มาตรา ๑๒ เป็นเหตุให้เสียชีวิต 10 – 20 ปี - มาตรา ๑๓ จำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่ง ไม่เกิน 1 ปี ไม่เกิน 20,000 มาตรา ๑๔ เผยแพร่เนื้อหาไม่เหมาะสม ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000

บทลงโทษ ฐานความผิด โทษจำคุก โทษปรับ มาตรา ๑๕ ความรับผิดของผู้ให้บริการ ไม่เกิน 5 ปี ไม่เกิน 100,000 มาตรา ๑๖ การตัดต่อภาพ ไม่เกิน 3 ปี ไม่เกิน 60,000

แหล่งอ้างอิง http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg http://www.opel.in.th/index.php?topic=2692.0 http://thai-cybercrime.blogspot.com/search/label http://www.siamintelligence.com/massenger-cyber/ http://thai-cybercrime.blogspot.com/2009/06/2550.html http://testcreatebg.blogspot.com/

ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูล สวัสดีครับ