ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ที่มา หลักการและ เหตุผล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สามารถทำ ให้การแบ่งปันความรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพราะนอกจากจะ ทำให้เราประหยัดเวลาและสามารถทำลายกำแพงต่างๆ.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเอกัตบุคคล Person Centered Theory
สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนหญิง ในลักษณะความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ศึกษาเฉพาะกรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปราณี ผู้วิจัย สุวาทินี
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ผู้วิจัย วัฒนาทร ชูใหม่ สาขาการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2548
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การกำหนดทางเลือกและ ตัดสินนโยบาย วิชา นโยบายสาธารณะ เบื้องต้น (SS3403) พ. อ. หญิง อโณมา คง ตะแบก.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การพัฒนาทักษะการพูด แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๑
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
การสร้างแรงจูงใจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โดย เลขาธิการ กศน.(นายสุรพงษ์ จำจด)
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
Supply Chain Management
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ความแตกต่างระหว่างบุคคล : Self-Efficacy ผศ.นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ทฤษฏีบุคลิกภาพการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory)

การรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-Efficacy) Bandura นักทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม เชื่อว่า การรับรู้ความสามารถของ ตนเองนั้น มีผลต่อการกระทำ ของบุคคล

กระบวนการความเข้าใจเป็นศูนย์กลางของการกระทำทั้งหลาย

พฤติกรรมของมนุษย์อาจจะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท 2 พฤติกรรมของมนุษย์อาจจะแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท 2.1 พฤติกรรมสนองตอบที่เกิดจากการเรียนรู้ ผู้ซึ่งแสดงออกหรือกระทำสม่ำเสมอ 2.2 พฤติกรรมที่เรียนรู้แต่ไม่เคยแสดงออกหรือกระทำ 2.3 พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออกทางการกระทำ เพราะไม่เคยเรียนรู้จริง ๆ

ภาพ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (P) พฤติกรรม(B) และสิ่งแวดล้อม(E) ซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดซึ่งกันและกัน (Reciprocal Determinism)

องค์ประกอบทางกาย เช่น หน้าตา เชื้อชาติ ขนาด เพศ และคุณลักษณะทางความคิด ค่านิยม ฯลฯ เป็นสิ่งเร้าที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาจากผู้คนรอบข้าง (P) ความคาดหวัง ความคิดค่านิยม ฯลฯ ของบุคคลมีอิทธิพลต่อการแสดงออกหรือพฤติกรรม พฤติกรรมที่แสดงออกจะถูกประเมินอย่างอิสระจากการเสริมแรงทางสังคมและจะมีอิทธิพลต่อความคาดหวัง ความคิด ความเชื่อของบุคคล การกระทำของกลุ่มคนรอบข้างมีอิทธิพลต่อการรับรู้ตนเองของบุคคล (B) (E) แบบอย่างของผลการกระทำหรือผลกรรมที่ผู้อื่นได้รับเป็นปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคล พฤติกรรมหรือการกระทำของบุคคล มีอิทธิพลต่อปัจจัยแวดล้อมหรือบุคคลรอบข้าง

การกระทำทั้งหลายของบุคคลเกิดขึ้นได้จากพฤติกรรม ความเข้าใจปัจจัยส่วนบุคคลและอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม การกระทำของแต่ละบุคคลจะมีพลังแตกต่างกันโดยจะแปรตามสภาพการณ์ เงื่อนไขของสิ่งแวดล้อมในขณะใดขณะหนึ่งซึ่งจะมีพลังอิทธิพลต่อพฤติกรรม

จะพยายามว่ายน้ำขึ้นมา เมื่อคนกระโจนลงในน้ำลึก จะพยายามว่ายน้ำขึ้นมา

การพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเอง 1. ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ (Mastery Experiences) 2. โดยการใช้ตัวแบบ (Modeling) 3. การใช้คำพูดชักจูง(Verbal Persuasion) 4. การกระตุ้นทางอารมณ์ (Emotional Arousal)

ปัญหา : จะมีวิธีการเลิกสูบบุหรี่ได้อย่างไร

ปัญหา : ไปทำงานไม่ทัน ทำอย่างไรจึงจะนอนตื่นเช้า

ปัญหา : อ่านหนังสืออย่างไรจึงจะจำได้ดี

ปัญหา : ทำอย่างไรจึงจะเล่นเทนนิสให้ได้แชมป์

ปัญหา : ทำอย่างไรจึงจะลดน้ำหนักได้