คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Sc B011 Software ที่สนใจ. sc B012 VCD Cutter โปรแกรม ตัด - ต่อ VCD เฉพาะส่วนที่ ต้องการแบบง่าย ๆ.
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 1 อุปกรณ์อินพุท/เอ้าท์พุทเซนเซอร์และวงจรควบคุม
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
การสำรองข้อมูล backup
Lab ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Direct addressing รูปแบบนี้แต่ละคำสั่งสามารถอ้าง memory location ได้คือ –Current page –Page 0 การคำนวณ effective address ได้มาจากคำสั่ง.
Virtual Memory. Detailed VM Example ในเรื่องนี้จะมีการนำเสนอในรูปแบบ ของการทำงานที่เป็นไปตามขั้นตอน เมื่อ เกิดการผิดพลาดของข้อมูล ISR จะทำ หน้าที่เป็น.
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
Finite-state Automata
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
การปรับปรุงและลดขั้นตอน การออกใบเสร็จรับเงิน ในงานบริการสารสนเทศ วรรณาภรณ์ เทียรท้าว เกดิษฐ เกิดโภคา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
การหาร ระดับ 1 อ. กิตติเชษฐ์ สวัสดิ์ธนาสกุล
SR Latch SR Latch ต้องรอ negative edge เพื่อให้ Q = D Y = D Q = Y.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
IP-Addressing and Subneting
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
IP-Addressing and Subneting
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
โครงสร้างภาษา C Arduino
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Interrupt & Timer.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 2 เครื่องโทรศัพท์.
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
บทที่ 6 การปันส่วนต้นทุนและต้นทุนฐานกิจกรรม
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
Week 5 C Programming.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15) สัญลักษณ์ : TIM N #SV Timer Number Preset Value การเรียกใช้คำสั่ง TIMER ข้อมูลที่ต้องการมี 3 ข้อมูลคือ 1. คำสั่ง TIM 2. TC Number (เมื่อ N = TC Number (TC000 – TC 511) 2. Set Value

TIMER และ TIMH (FUN15) ชนิด ฐานเวลา ค่าเวลา ย่านเวลา ต่ำสุด สูงสุด TIM 0.1วินาที 0.01 วินาที 0000-9999 0002-9999 0.1 วินาที 0.02 วินาที 999.9 วินาที 99.99 วินาที

TIMER และ TIMH (FUN15) ความหมาย: เป็นการเรียกใช้ตัวตั้งเวลา ซึ่งสามารถหน่วงเวลาการทำงานหรือกำหนดค่าเวลาได้ ซึ่งทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับขีดความสามารถของเครื่อง PC ที่ใช้อยู่ เช่นกำหนดเวลาได้ระหว่าง 0.1-999.9 วินาที

TIMER และ TIMH (FUN15) TIMER เป็นคำสั่งตัวตั้งเวลาที่เป็น SOFT WARE ใน PC ซึ่งต้องการข้อมูลคือ Timer Number หรือ TC Number และ Preset Value หรือ Set Value ซึ่ง TC Number มีค่าตั้งแต่ TC000- TC 511 ซึ่ง TC Number นี้สามารถที่จะเรียกใช้ได้เพียง 1 ครั้งเท่านั้น ไม่สามารถที่จะเรียกใช้ซ้ำกันมากกว่า 1 ครั้งในโปรแกรมเดียวกันไม่ได้ แต่หน้าสัมผัสของ TIMER สามารถเรียกใช้ได้ไม่มีขีดจำกัด

การทำงานของ Timer เป็นแบบ ON-DELAY TIMER : เมื่อมีสัญญาณที่ COIL ของ TIMER TIMERจะเริ่มเปลี่ยนเวลาจากค่าที่กำหนด (SV) ลดลงสู่ค่าปัจจุบัน PV (Present Value) และ TIMER จะเป็น ON หน้าสัมผัสของ TIMER จะเปลี่ยน และเมื่อใดก็ตามที่ตัดสัญญาณที่เข้า COIL ของ TIMER ออก TIMER จะหยุดทำงาน

ตัวอย่าง ON-DELAY TIMER 000 TIM 5 # 30 TIM 5 200 END

เมื่อ Input 000 = 1 000 TIM 5 # 30 TIM 5 200 END

เมื่อ Input 000 = 1 000 TIM 5 # 30 TIM 5 200 END TIM 5 เริ่มนับเวลาจากค่าที่ตั่งไว้ลงสู่ค่าปัจจุบัน 0005 0004 0003 0002 0001 0000

000 TIM 5 # 30 TIM 5 200 END เมื่อนับถึงค่าปัจจุบันจะทำให้ TIM 5 ทำงานเท่ากับ “1”

เมื่อ Input 000 = 0 000 TIM 5 # 30 TIM 5 200 END เมื่อยกเลิกสัญญาณที่ Coil ของ Timer จะทำให้ TIM 5 เท่ากับ 0

วิธีการเขียนคำสั่งภาษาบูลลีน ADDRESS INSTRUCTION DATA 0000 LD 00 0001 TIM 5 0002 - # 30 0003 TIM 5 0004 OUT 200 0005 END

01 TIM 5 300 # 30 TIM 5 END ตัวอย่าง OFF DELAY TIMER (การประยุกต์ใช้งาน ON DELAY TIMER) 01 300 END TIM 5 # 30 TIM 5 3 วินาที IP 0 TIM 5 IR 300

การทำงาน : เมื่อให้สภาวะกับอินพุทหมายเลข 01 (ให้ 1) จะทำให้รีเลย์หมายเลข 300 ทำงาน และเมื่อยกเลิกสภาวะกับอินพุทหมายเลข 01 (ให้ 0 ) ก็จะมีสัญญาณเข้าที่ COIL ของ TIMER หมายเลข 5 TIM 5 ก็จะเริ่มนับเวลาลงสู่ค่าปัจจุบัน เมื่อ TIM5 นับครบ 3 วินาที ก็จะส่งผลให้รีเลย์ภายในหมายเลข 300 หยุดทำงาน

ตัวอย่าง ON - OFF DELAY TIMER 01 END TIM # 50 600 TIM 0 5 วินาที IP 01 IR 600 1 # 30 TIM 1 ON OFF 3 วินาที

การทำงาน : เมื่อให้สภาวะแก่อินพุทหมายเลข 01 จะมีสัญญาณเข้าที่ COIL ของ TIM 0 จะทำให้ TIM 0 เริ่มนับเวลาจากค่า SV ลงสู่ค่า PV (ซึ่งได้ทำการตั้งไว้ที่ 5 วินาที) เมื่อ TIM 0 นับครบ 5 วินาทีจะทำให้ TIM 0 ทำงาน ทำให้หน้าสัมผัสของ TIM 5 ก็จะเปลี่ยน เมื่อหน้าสัมผัสของ TIM 0 เปลี่ยนก็จะส่งผลให้มีสัญญาณเข้าไปที่ COIL ของ รีเลย์ภายใน หมายเลข 600 ส่งผลทำให้ 600 ทำงาน เมื่อยกเลิกสภาวะกับอินพุทหมายเลข 01 (ให้ 0 ) ก็จะมีสัญญาณเข้าที่ COIL ของ TIM 1 TIM 1 ก็จะเริ่มนับเวลาลงสู่ค่าปัจจุบัน เมื่อ TIM5 นับครบ 3 วินาที ก็จะส่งผลให้รีเลย์ภายในหมายเลข 600 หยุดทำงาน

8. เมื่อ input 00 เท่ากับ “1” IR 100 หยุดทำงานเท่ากับ “0” แนวทางการเขียนโปรแกรม 1. เมื่อ input 01 เท่ากับ “1” IR 100 ทำงานเท่ากับ “1” 2. เมื่อ input 01 เท่ากับ “0” IR 100 ยังคงทำงานเท่ากับ “1” 3. เมื่อ IR 100 เท่ากับ “1” ทำให้ output200 = “1” 4. เมื่อ IR 100 เท่ากับ “1” ทำให้ TIM000เริ่มนับเวลา 5. เมื่อ TIM000 นับเวลาครบทำให้output200หยุดทำงาน 6. เมื่อ TIM000 นับเวลาครบทำให้ TIM001เริ่มนับเวลา 7. เมื่อ TIM001นับเวลาครบทำให้ TIM000หยุดทำงาน 8. เมื่อ input 00 เท่ากับ “1” IR 100 หยุดทำงานเท่ากับ “0”