หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
Advertisements

หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การใช้งานโปรแกรม SPSS
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยที่ 1 อุปกรณ์อินพุท/เอ้าท์พุทเซนเซอร์และวงจรควบคุม
4.2 โปรแกรมป้องกันการทำงานพร้อมกัน
หน่วยที่ 5 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปร่วมกับเซนเซอร์
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
รายงานสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร ระดับสูง ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน และ รายงานสถานะ การดำเนินงานของมคอ. 2 – มคอ. 7 1 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรม เอเชียแอร์
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
บทที่ 7 การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ชุดแบตเตอรี่แรงดันสูงและแบตเตอรี่เสริม ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
Week 5 C Programming.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ผู้สอน ครูวัชระ วงษ์ดี
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
Chapter 3 : Array.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 8 พัลส์เทคนิค
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ นำเสนอครั้งที่ 2 หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 2.1 สัญญาณและระบบเลขฐาน จัดทำโดย สุพล จริน ห้องปฏิบัติการควบคุม CONTROL LAB EL06 แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่

สัญญาณและระบบเลขฐาน การปฏิบัติการบูลีนจะรับรู้สถานะของตัวแปรเพียงสองสถานะเท่านั้น เช่น การควบคุมไฟฟ้าสามารถที่จะควบคุมให้ปิด (OFF) หรือเปิด (ON) สัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลงได้เพียงสองสถานะ คือ “0” หรือ “1” เรียกสัญญาณ Binary และระบบปฏิบัติการของ PLC จะใช้ระบบตัวเลขฐาน 2 และสามารถประยุกต์เป็นระบบเลขฐาน 8 และระบบเลขฐาน 16 ซึ่งตัวแปรสามารถกำหนดให้มีเพียงสองค่าเท่านั้น คือ “0” หรือ “1” และจะนำตัวแปรมาพิจรณาในลักษณะทางคณิตศาสตร์ พีชคณิตบูลีน (Boolean algebra) จุดประสงค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของสัญญาณและระบบเลขฐาน สมการบูลีน และการลดรูปสมการ

สัญญาณที่มีสถานะแตกต่างกันได้ 2 สถานะ สัญญาณ Binary สัญญาณที่มีสถานะแตกต่างกันได้ 2 สถานะ 0 1 OFF ON 0 V 24 V 1 Bar 6 Bar

การกำเนิดสัญญาณ Binary 1 = Binary generator

ย่านของแรงดันไฟฟ้า IEC1131-2 -3 5 11 30 1 - Range 0 - Range

~ วงจรไฟฟ้า S1 = Binary input S1 ไม่กด S1 = 0 กด S1 = 1 H1 H1 = Binary output ไฟดับ H1 = 0 ไฟติด H1 = 1

~ วงจรไฟฟ้า S1 = Binary input S1 ไม่กด S1 = 0 กด S1 = 1 H1 H1 = Binary output ไฟดับ H1 = 0 ไฟติด H1 = 1

การกำเนิดสัญญาณดิจิตอล สัญญาณดิจิตอลต่างกับสัญญาณไบนารี่ที่สัญญาณดิจิตอลสามารถกำหนดให้มีค่าของขนาดแรงดันไฟฟ้าเท่าใดก็ได้ t 1 2 3 4 5 6 Analog signal Digital signal on 1v basis on 2v basis V on 0.5v basis แสดงการแปลงสัญญาณแอนะลอกให้เป็นสัญญาณดิจิตอลจำนวน 3 วิธีการ

สัญญาณดิจิตอลบางครั้งไดมาจากสัญญาณแอนะลอก ซึ้งเป็นวิธีการที่จะทำให้ระบบ PLC ทำการประมวลผลสัญญาณแอนะลอกได้ ตัวอย่างเช่นสัญญาณแอนะลอกที่มีค่าแรงดันอยู่ในย่าน 0-10V จะถูกลดขนาดลงให้อยู่ในรูปของค่าแรงดันที่เป็นขั้นๆ เรียงกันเป็นลำดับขึ้นอยู่กับความสามารถของ PLC ซึ่งสัญญาณดิจิตอลอาจจะปฏิบัติการในขั้นของค่าแรงดัน 0.1V, 0.01V หรือ 0.001V ซึ่งถ้าใช้ย่านที่ขั้นของค่าแรงดันไฟฟ้าน้อยที่สุด จะทำให้มีความแม่นยำในการแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณแอนะลอกมีความถูกต้องสูง ตัวอย่างสัญญาณแอนะลอก เช่น ความดันที่ถูกวัดและแสดงผลโดยเกจวัดความดัน ค่าของความดันจะมีค่าเท่าใดก็ได้ภายในช่วงค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดและมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไม่เหมือนสัญญาณดิจิตอล กรณีที่จะทำการประมวลผลสัญญาณแอนะลอกด้วย PLC จะต้องทำการประมาณค่าและแปลงสัญญาณเหล่านั้นให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลก่อน ทำนองเดียวกันสัญญาณดิจิตอลก็สามารถจะทำการปฏิบัติการเหมือนกับสัญญาณไบนารี่

สัญญาณจาก Bimetallic strip thermometer (สัญญาณไบนารี่) หน้าสัมผัสปิดมีกระแสไฟฟ้าไหลทำให้หลอดไฟติด 80 150 หน้าสัมผัสเปิดไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลทำให้หลอดไฟดับ

สัญญาณจาก Mercury thermometer (สัญญาณแอนะลอก) - 20 50 100 80 40 Mm Hg แสดงสัญญาณแอนะลอก

การเปลี่ยนสัญญาณควบคุมจากดิจิตอลเป็นแอนะลอก Digital control signal DC motor Analog [ue] Control signal D/A-converter Voltage supply D A M Transistor [control element]

แสดงการใช้สัญญาณไฟฟ้าควบคุมการเลื่อนของกระบอกสูบ An electrical push button triggers the movement of a pneumatic cylinder Push Button open Pneumatic cylinder Electrical voltage Compressed air แสดงการใช้สัญญาณไฟฟ้าควบคุมการเลื่อนของกระบอกสูบ

Analog (ue) - digital converter 1 2 3 4 t 200 100 U[mv] 220 mv d0 d1 d2 d3 d4 d5 d6 d7 110 180 Sensing operation Analog [ue] value Digital equivalence

การขยายสัญญาณ Voltage 0.01 10 แสดงการขยายสัญญาณ U [ V ] t 0.01 10 แสดงการขยายสัญญาณ

Linearization of a signal course การเปลี่ยนเป็นสัญญาณเชิงเส้น t Signal การเปลี่ยนเป็นสัญญาณเชิงเส้น

สัญญาณดิจิตอลคือกลุ่มของสัญญาณไบนารี่ที่นำมาเรียงกันเป็นรหัส ตัวอย่างกลุ่มของสัญญาณไบนารี่ขนาด 4 บิต นำมาสร้างเป็นรหัสได้ทั้งหมดกี่รหัสไม่ซ้ำกัน 20 21 22 23 กลุ่มของสัญญาณไบนารี่ขนาด 4 บิต ตำแหน่งท้ายสุด 20 21 22 23 = 8 + 4 + 2 + 1 = 15 ตำแหน่งแรก = 0 สรุป สัญญาณไบนารี่ขนาด 4 บิต นำมาสร้างเป็นรหัสได้ทั้งหมด 16 รหัส ตั้งแต่รหัส 0 ถึง 15

สัญญาณ Digital = กลุ่มสัญาณ Binary จำนวนรหัส 23 22 21 20 จำนวนรหัส 23 22 21 20 8 1 1 1 9 1 2 1 10 1 3 1 1 11 4 1 12 1 5 1 13 1 6 1 14 1 7 1 15 1

เลขฐาน 2 = 0 - 1 = ข้อมูลขนาด 1 Bit ระบบเลขฐาน เลขฐาน 2 = 0 - 1 = ข้อมูลขนาด 1 Bit เลขฐาน 8 = 0 1 2 3 4 5 6 7 = ข้อมูลขนาด 1 Byte เลขฐาน 10 = 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 เลขฐาน 16 = 0123456789 ABCDEF = ข้อมูล 1Word

การเปลี่ยนระบบเลขฐาน การเปลี่ยนเลขฐาน 2 เป็นเลขฐาน 10 Bit NO. ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างที่ 3 Digital value 1 2 3 4 5 6 7 187 51

การเปลี่ยนระบบเลขฐาน การเปลี่ยนเลขฐาน 10 เป็นเลขฐาน 2 Bit NO. 7 6 5 4 3 2 1 Digital value 1 131 ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างที่ 2 1 71 9 ตัวอย่างที่ 3 1

C 9 การเปลี่ยนระบบเลขฐาน เลขฐาน 2 ขนาด 4 Bit = เลขฐาน 10 หรือฐาน 16 จำนวน 1 หลัก C 9

C 9 1 1 การเปลี่ยนระบบเลขฐาน เลขฐาน 2 ขนาด 4 Bit = เลขฐาน 10 หรือฐาน 16 จำนวน 1 หลัก C 9 1 1

ตัวอย่างให้ Input 3/4 ทำให้หลอดไฟ H1 ติด = 1 จำนวนรหัส 23 20 21 22 8 9 10 11 12 13 14 15 1 H1 จำนวนรหัส 23 22 21 20 H1 1 1 2 1 3 1 1 4 1 5 1 1 6 1 1 7 1 1

DNF = Disjunction Normal Form วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form S1 S2 S3 S4 H1 สมการ Boolean H1 = V(S1.S2.S3.S4) V(S1.S2.S3.S4)

DNF = Disjunction Normal Form วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form สมการ Boolean H1 = V(S1.S2.S3.S4) V(S1.S2.S3.S4) S1 S2 S3 S4 H1

= & Computing rule AND-OR circuit A Y =( A ^ B) ^ C = A^B^C B C Y A B

1 > = = = A B C Y A B C A B C A B C Y =( A V B ) V C

กฎอื่นๆ สำหรับคำสั่ง AND - OR Y = ( A V B ) C > = 1 & A B C Y > = 1 & A C B Y Y = ( A V C ) ( B V C ) = AB V CC = AB V C

A V AQ =A V Q A Q A B AB V AB = A V B B A AB V ( A V B ) = 1

DNF = Disjunction Normal Form วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form H1 S1 ลดรูปสมการโดย Computing rule S2 S3 S4

DNF = Disjunction Normal Form วงจรไฟฟ้า DNF = Disjunction Normal Form H1 S1 ลดรูปสมการโดย Computing rule S2 S3 S4

Binary signal : Signal state Voltage present +24v 1 Signal state “1” Voltage not present 0v Signal state “0” Lamp “ON” Lamp “OFF” Output module Input module

Sensor contact and its state as defined by the application 100% VALUE 1 VOLTAGE PRESENT + 24V VOLTAGE NOT PRESENT 0V Binary signal = bit activated not activated NO contact present not present 1 NC contact Programming of NC and NO contacts Sensor contact and its state as defined by the application The sensor is “ON” The sensor is Voltage at input Evaluation in the program Signal state at input

DNF = Disjunction Normal Form CNF = Conjunction Normal Form H1 DNF = Disjunction Normal Form OR LD, OR BLOCK, O( ) S1 S2 S3 S4 H1 CNF = Conjunction Normal Form AND LD, AND BLOCK, A( )

THE END