เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
Out Come.
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การขอโครงการวิจัย.
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Continuous Quality Improvement
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ทีม โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การประชุมวิชาการครั้งที่ 5/2560
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน 1. เข้าใจความหมายและลักษณะของเครื่องชี้วัดในแง่มุมต่างๆ 2. เข้าใจแนวทางการคัดเลือกเครื่องชี้วัด เลือกเครื่องชี้วัดที่เหมาะสม 3. เข้าใจข้อจำกัดของเครื่องชี้วัด รู้วิธีแก้ไขข้อจำกัด 4. กำหนดเครื่องชี้วัดที่เหมาะสมสำหรับ รพ.และหน่วยงาน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:01

เครื่องชี้วัดคุณภาพ ใช้วัด คัดกรอง ส่งสัญญาณในการเฝ้าติดตาม ประเมิน ปรับปรุงคุณภาพ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ ผลกระทบ คน เครื่องมือ ข้อมูลข่าวสาร มี? ทำ? ทำถูก? ทำดี? ทำทัน? ถูกที่? โดยคนทึ่ควร? หาย, ตาย แทรกซ้อน วันนอน ค่าใช้จ่าย ความรู้ เจตคติ พฤติกรรม พึงพอใจ คุณภาพชีวิต สถานะสุขภาพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:02

มิติของเครื่องชี้วัดคุณภาพ กระบวนการ ปัจจัยนำเข้า ผลลัพธ์ เป็นที่ยอมรับของผู้ป่วย  การเข้าถึง   ความถูกต้องเหมาะสม  ศักยภาพ  ความต่อเนื่อง  ผลลัพธ์ดี  ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า  มีความเสี่ยงน้อย    พิทักษ์สิทธิและศักดิ์ศรี   สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:03

เครื่องชี้วัดตามวัตถุประสงค์ต่างๆ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:04

ความสัมพันธ์ระหว่างผู้รับผลงาน กระบวนการ เครื่องชี้วัด สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:05

หาเครื่องชี้วัดของกระบวนการ ผู้รับผลงาน ความต้องการ เครื่องชี้วัดคุณภาพ มิติของคุณภาพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:06

การคัดเลือกเครื่องชี้วัด ง่าย วัดได้ง่าย วัดสิ่งสำคัญ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลง วัดสิ่งสำคัญ 10 วัดง่าย 1 5 10 1 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:07

การใช้ประโยชน์จากเครื่องชี้วัด ตัวเลขของคนอื่นเป็นอย่างไร ตัวเลขในอดีตของเราเป็นอย่างไร ทำไมตัวเลขของเราจึงอยู่ในระดับนั้น ตัวเลขควรเป็นเท่าไร เรื่องใดที่ควรปรับปรุง ที่ผ่านมาทำอะไรสำเร็จไปแล้วบ้าง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:08

เครื่องชี้วัดในระดับ รพ. การดูแลทางคลินิก การบริการ การจัดองค์กร เครื่องชี้วัดแต่ละตัวมีข้อจำกัด -ต้องเข้าใจและยอมรับ -หาวิธีการวิเคราะห์เพิ่มเติม พรพ. Indicator:09

อัตราตาย ผู้ป่วยใน 10,000 ราย ผู้ป่วยผ่าตัด 1,000 ราย ผู้ป่วยใน 10,000 ราย ผู้ป่วยผ่าตัด 1,000 ราย ทารกแรกเกิด 200 ราย ผู้ป่วยในเสียชีวิต 100 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตจากการผ่าตัด 2 ราย ทารกแรกเกิดเสียชีวิตใน 28 วัน 5 ราย มารดาเสียชีวิตจากการคลอด 0 ราย อัตราตายรวม อัตราตายระหว่างผ่าตัด อัตราตายของทารกแรกเกิด อัตราตายของมารดาเนื่องจากการคลอด ข้อมูลเหล่านี้หายากหรือไม่ พรพ. Indicator:10

ประเด็นอภิปราย 1. เราควรสนใจข้อมูลการเสียชีวิตเมื่อไร 2. เราควรทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยที่เสียชีวิต ในกรณีใดบ้าง 3. ข้อมูลอัตราตายรวมสะท้อนคุณภาพการดูแลผู้ป่วย ได้เพียงใด 4. เราควรทำอะไรเมื่อทารกแรกเกิดเสียชีวิต 5. อัตราตายระหว่างผ่าตัด กับจำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิต ระหว่างผ่าตัด อันไหนสำคัญกว่ากัน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:11

อัตราการติดเชื้อใน รพ. ผู้ป่วยในที่จำหน่าย 10,000 ราย ผู้ป่วยผ่าตัด 1,000 ราย การติดเชื้อใน รพ. ทั้งหมด 500 ครั้ง การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ 250 ครั้ง การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ 150 ครั้ง การติดเชื้อแผลผ่าตัด 50 ครั้ง อัตราการติดเชื้อใน รพ. สัดส่วนการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ สัดส่วนการติดเชื้อแผลผ่าตัด อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด ข้อมูลเหล่านี้หายากหรือไม่ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:12

ประเด็นอภิปราย 1. ข้อมูลอัตราการติดเชื้อใน รพ. และสัดส่วนการติดเชื้อ ในระบบต่างๆ บอกอะไรแก่เรา 2. ข้อมูลการติดเชื้อใน รพ.ที่จะสะท้อนคุณภาพ การดูแลผู้ป่วย และมีส่วนชี้ให้เห็นโอกาสพัฒนา ควรเป็นอย่างไร 3. ข้อมูลอัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัดที่มีประโยชน์ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:13

ความคลาดเคลื่อนด้านยา (Medication Error) Indicator:14

ประเด็นอภิปราย 1. ใครควรเป็นผู้เก็บข้อมูลและประมวลผล 2. จะทำอย่างไรให้เกิดระบบข้อมูลชุดนี้ 3. เหตุใดจึงต้องจำแนกผลกระทบของความคลาดเคลื่อน 4. เหตุใดตัวหารของความคลาดเคลื่อนแต่ละกลุ่มจึง ไม่เหมือนกัน 5. ข้อมูลใดควรเก็บทั้งหมด ข้อมูลใดควรใช้วิธีสุ่มตัวอย่าง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:15

เลือกเครื่องชี้วัดระดับ รพ. ก) อัตราตายรวม ข) อัตราตายระหว่างผ่าตัด ค) อัตราตายทารกแรกเกิด ง) อัตรการติดเชื้อใน รพ. จ) อัตราการแพ้ยา ฉ) อัตราปฏิกิริยาจากเลือด ช) อัตรา readmit ใน 28 วัน ซ) อัตราผ่าตัดซ้ำ ฌ) อัตราเด็กเกิด นน.น้อย ญ) ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ฎ) วันนอนเฉลี่ยในสิบโรคแรก ฏ) อัตราผ่าตัดคลอด ฐ) CT scan ผิดปกติ วัดสิ่งสำคัญ 10 วัดง่าย 1 5 10 1 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:16

เลือกเครื่องชี้วัดระดับหน่วยงาน นำตัวอย่างเครื่องชี้วัด ในเอกสารประกอบการประชุม มาคัดเลือก วัดสิ่งสำคัญ 10 วัดง่าย 1 5 10 1 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:17