บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
PHPPHP การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ.
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
Finite-state Automata
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
การใช้งาน Microsoft Excel
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
บทที่ 4 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
SQL Structured Query Language.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม ภาษาปาสคาล (Pascal)
Chapter 4 ข้อความสั่ง เลือกทำ.
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Serial Communication.
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
ระดับความเสี่ยง (QQR)
โครงสร้างภาษา C Arduino
Work Shop 1.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
Control Statement เงื่อนไขคำสั่งในโปรแกรม ภาษา C
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
สาระการเรียนรู้ ความหมายของอัลกอริทึม วิธีการเขียนผังงานที่ดี
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 5 ปฏิบัติการที่ 5.2 : การสร้างแผ่นพับด้วย MS Publisher
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
Chapter 3 : Array.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)

ในการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นจะต้องมีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ของงานที่จะนำเข้ามาทำการ ประมวลผล ซึ่งเราจะต้องบอกเงื่อนไข ให้แก่คอมพิวเตอร์ได้รับรู้เสียก่อน ก่อนที่จะเริ่มทำการประมวลผล ใน ภาษาปาสคาลจะมีคำสั่ง (STATEMENT) ที่ใช้สำหรับสร้าง ประโยคตรวจสอบเงื่อนไข โดยมี เครื่องหมายที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ สำหรับการเปรียบเทียบดังต่อไปนี้

สัญลักษณ์สำหรับการ เปรียบเทียบ > หมายถึงมากกว่า < หมายถึงน้อยกว่า < หมายถึงน้อยกว่า <= หมายถึงน้อยกว่า หรือ เท่ากับ <= หมายถึงน้อยกว่า หรือ เท่ากับ >= หมายถึงมากกว่า หรือ เท่ากับ >= หมายถึงมากกว่า หรือ เท่ากับ <> หมายถึงไม่เท่ากับ <> หมายถึงไม่เท่ากับ = หมายถึงเท่ากับ = หมายถึงเท่ากับ IN หมายถึงใช้ตรวจสอบตัว แปร SET IN หมายถึงใช้ตรวจสอบตัว แปร SET

การสร้างประโยคตรวจสอบเงื่อนไข ในภาษาปาสคาลมีคำสั่งที่ใช้สำหรับสร้าง ประโยค ที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข (CONDITION STATEMENT) ด้วยกัน 3 รูปแบบ ในภาษาปาสคาลมีคำสั่งที่ใช้สำหรับสร้าง ประโยค ที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข (CONDITION STATEMENT) ด้วยกัน 3 รูปแบบ - IF - IF - IF ELSE - IF ELSE - CASE - CASE

รูปแบบ IF รูปแบบ รูปแบบ IF ( เงื่อนไข ) THEN ประโยค (STATEMENT); IF ( เงื่อนไข ) THEN ประโยค (STATEMENT); ประโยคหลัง THEN จะถูกดำเนินงานต่อเมื่อเงื่อนไขถูกต้อง ประโยคหลัง THEN จะถูกดำเนินงานต่อเมื่อเงื่อนไขถูกต้อง เช่น เช่น IF (A=B) THEN WRITE ('A=B'); IF (A=B) THEN WRITE ('A=B'); ถ้า A เท่ากับ B จะพิมพ์คำว่า A=B ถ้า A เท่ากับ B จะพิมพ์คำว่า A=B ถ้า A ไม่เท่ากับ B ประโยคที่อยู่หลัง THEN จะไม่ ทำงาน ถ้า A ไม่เท่ากับ B ประโยคที่อยู่หลัง THEN จะไม่ ทำงาน IF (A>B) THEN WRITE ('A>B'); IF (A>B) THEN WRITE ('A>B'); ถ้า A มากกว่า B จริงจะพิมพ์คำว่า A>B ถ้า A มากกว่า B จริงจะพิมพ์คำว่า A>B ถ้า A ไม่มากกว่า B ประโยคที่อยู่หลัง THEN จะไม่ ทำงาน ถ้า A ไม่มากกว่า B ประโยคที่อยู่หลัง THEN จะไม่ ทำงาน

รูปแบบ IF - ELSE รูปแบบ รูปแบบ IF ( เงื่อนไข ) THEN ประโยค (STATEMENT) ELSE ประโยค (STATEMENT); ELSE ประโยค (STATEMENT); ประโยคหลัง THEN จะทำงานเมื่อเงื่อนไขถูกต้อง ประโยค หลัง ELSE จะ ทำงานเมื่อเงื่อนไขไม่ถูกต้อง ประโยคหลัง THEN จะทำงานเมื่อเงื่อนไขถูกต้อง ประโยค หลัง ELSE จะ ทำงานเมื่อเงื่อนไขไม่ถูกต้อง เช่น เช่น IF (A=B) THEN WRITE ('A=B') IF (A=B) THEN WRITE ('A=B') ELSE WRITE ('A<>B'); ELSE WRITE ('A<>B'); ถ้า A เท่ากับ B จะพิมพ์คำว่า A = B แต่ถ้า A ไม่เท่ากับ B จะ พิมพ์คำว่า A <> B

นอกจากนี้ยังสามารถนำคำสั่ง AND OR และ IN มาใช้ร่วมกับคำสั่ง IF ได้อีกด้วย AND ( และ ) เป็นการตรวจสอบ 2 เงื่อนไขโดยต้อง เป็นจริงทั้งคู่จึงจะทำงานต่อไป IF (A=B) AND (C=D) THEN WRITELN('BALL_AND_BALL') จากตัวอย่างแสดงให้เห็นว่าถ้า A=B และ C=D จึงจะแสดงคำว่า BALL_AND_BALL แต่ถ้าไม่ก็ จะหลุดจากคำสั่งนี้ไป

OR ( หรือ ) เป็นการตรวจสอบ 2 เงื่อนไขโดยต้อง เป็นจริงอันใดอันหนึ่งจึงจะทำงานต่อไป IF (A=B) OR (C=D) THEN WRITELN(' BALL_ OR _BALL L') จากตัวอย่างแสดงให้เห็นว่าถ้า A=B หรือ C=D จึงจะแสดงคำว่า BALL_ OR _BALL แต่ถ้าไม่ก็จะหลุดจากคำสั่งนี้ไป จากตัวอย่างแสดงให้เห็นว่าถ้า A=B หรือ C=D จึงจะแสดงคำว่า BALL_ OR _BALL แต่ถ้าไม่ก็จะหลุดจากคำสั่งนี้ไป

รูปแบบ CASE ในกรณีที่มีเงื่อนไขหลายเงื่อนไขให้เลือกทำเงื่อนไขไดเงื่อนไขหนึ่ง ถ้าใช้ ประโยค IF ตรวจสอบเงื่อนไขจะต้องใช้หลายประโยค ซึ่งเราสามารถเปลี่ยน มาใช้ CASE แทนได้ CASE กรณี OF 1: ประโยค 1; 1: ประโยค 1; 2: ประโยค 2; 2: ประโยค 2;... N: ประโยค N; N: ประโยค N; ELSE ELSE ประโยค ; ประโยค ; END; END;