3 The Discrete-Time Fourier Analysis and Transform การวิเคราะห์และการแปลงฟูริเยร์ แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา รศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
Advertisements

ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ CESdSP
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
4 The z-transform การแปลงแซด
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Entity-Relationship Model E-R Model
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Pushdown Automata : PDA
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
รศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 Introduction to Algorithm Analysis
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
1 EEET0485 Digital Signal Processing การประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
Digital Image Processing
Assoc. Prof. Dr. Peerapol Yuvapoositanon
1 EEET0485 Digital Signal Processing การประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
BC320 Introduction to Computer Programming
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
บทที่ 7 การรับส่งข้อมูลบนเครือข่าย
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
Control Chart for Attributes
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3 The Discrete-Time Fourier Analysis and Transform การวิเคราะห์และการแปลงฟูริเยร์ แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา รศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

เป้าหมาย นศ เรียนรู้การแปลงฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา (The Discrete-Time Fourier Transform; DTFT) (DTFT แตกต่างกับ Discrete Fourier Transform (DFT) ในบทที่ 5) นศ เรียนรู้ทฤษฎีการสุ่มสัญญาณ นศ รู้จักความหมายของผลตอบสนองความถี่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ความสัมพันธ์ของ สัญญาณแอนะลอกและดิจิตอล xa(t) คือ สัญญาณแอนะลอก x(n) คือ สัญญาณดิจิตอล CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ความสัมพันธ์ของความถี่เชิงมุมแอนะลอกและความถี่เชิงมุมดิจิตอล จึงได้ว่า ช่วงเวลาชักตัวอย่าง ความถี่เชิงมุมดิจิตอล ความถี่เชิงมุมแอนะลอก CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

สัญญาณไซน์ไม่ต่อเนื่องทางเวลา (Discrete-Time Sinusoidal Signals) ความถี่เชิงมุมดิจิตอล (Digital Angular frequency) หรือ เรียกง่ายๆ ว่า ความถี่ดิจิตอล (Digital frequency) หน่วยเป็นเรเดียนต่อแซมเปิ้ล (Radians per sample) CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

สมมติให้ ดังนั้นจาก f เรียกว่า ความถี่นอร์มัลไลซ์ (Normalised frequency) CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

1 คาบ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

X(n) ของค่า T= ½, ¼ และ 1/8 ของ fs CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

สัญญาณรายคาบ เมื่อ N=6 CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

1 สัญญาณรายคาบ สัญญาณจะเป็นรายคาบที่ N แซมเปิ้ล หมายถึง ค่าถัดไป N แซมเปิ้ล มีค่าเท่ากับค่าปัจจุบัน เงื่อนไขคือ ความถี่ (f)*คาบ (N) เป็นค่าจำนวนเต็ม (k) หรือ fN=k หรือ f= k/N CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ตัวอย่าง CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ตัวอย่าง CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

พิสูจน์ หากเราให้ x(n) และ x(N+n) เป็น CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

กรณี f *N เป็นเลขจำนวนเต็ม CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

กรณี f *N เป็นเลขจำนวนเต็ม = k ดังนั้น k จึงเป็นจำนวนเท่าของ 2pi หรือ จะได้ว่า x(n+N) = x(n) ก็ต่อเมื่อ ความถี่ f ซึ่งเป็นอัตราส่วนของ k และ N เป็นเศษส่วนของเลขจำนวนเต็ม (Rational number) เท่านั้น หรือ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ดังนั้น แต่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

2 สัญญาณจะมีความถี่ได้มากสุด=Pi สำหรับ จะได้ว่าสัญญาณฟังก์ชันโคไซน์ ที่ให้ค่าเป็นบวก เขียนได้ 2 แบบ โดยที่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ความถี่ ค่าของฟังก์ชันโคไชน์จะเขียนแทนได้ด้วยค่าที่อยู่ในช่วง หรือได้ว่า CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ความถี่ f ค่าของฟังก์ชันโคไชน์จะเขียนแทนได้ด้วยค่าที่อยู่ในช่วง หรือ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

เราได้ว่าที่ความถี่มากกว่า pi เรเดียน จะได้ เช่น ตัวอย่างเช่น เราได้ว่าที่ความถี่มากกว่า pi เรเดียน จะได้ เช่น CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

3 สัญญาณไซน์ที่มีความถี่ต่างกัน 2Pi จะเป็นสัญญาณเดียวกัน จาก ให้ จะได้ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

อนุกรมฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา (Discrete-Time Fourier Series) เราวิเคราะห์สัญญาณแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาที่เป็น รายคาบ (Periodic) ได้ด้วยอนุกรมฟูริเยร์ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

อนุกรมฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา (Discrete-Time Fourier Series) สมการการสังเคราะห์ (Synthesis Equation) สมการการวิเคราะห์ (Analysis Equation) CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

การแปลงฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา (Discrete-Time Fourier Transform) เราวิเคราะห์สัญญาณแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาที่ไม่เป็นรายคาบ (Non-Periodic) ได้ด้วยการแปลงฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา (DTFT) CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

โดเมนเวลา โดเมนความถี่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ผลจากการประสาน h(n)*e^jwn CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

The Discrete-Time Fourier Transform ผลการแปลงฟูริเยร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา (DTFT) ของ h(n) คือ ความถี่ดิจิตอลเชิงมุม หมด ความหมายของการเป็น ความถี่ ทำนองเดียวกับ n ที่ หมดความหมาย ในการเป็น “เวลา”. = ความถี่ดิจิตอลหน่วยเป็น เรเดียน CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

กรณีผลตอบสนองอิมพัลส์ เป็นเดลต้าฟังก์ชัน กรณีผลตอบสนองอิมพัลส์ เป็นเดลต้าฟังก์ชัน CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

กรณีผลตอบสนองอิมพัลส์ เป็นเดลต้าฟังก์ชันได้ผลลัพท์ y(n) =x(n) CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

การแปลง DTFT กรณีผลตอบสนองอิมพัลส์เป็นเดลต้าฟังก์ชัน เนื่องจาก เดลต้าฟังก์ชัน มีค่าเป็น 1 ณ ตำแหน่งเดียวคือที่ n=0 ดังนั้น หรือ เป็นค่าคงที่ =1 CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ตัวอย่าง LabVIEW กรณีผลตอบสนองอิมพัลส์ เป็นเดลต้าฟังก์ชัน 1 CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

กรณีอิมพัลส์เรสปอนส์เป็น เดลต้าฟังก์ชัน+ค่าหน่วงเวลาของมัน CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

กรณีอิมพัลส์เรสปอนส์เป็น เดลต้าฟังก์ชัน+ค่าหน่วงเวลาของมัน CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

LabVIEW กรณีอิมพัลส์เรสปอนส์เป็น เดลต้าฟังก์ชัน+ค่าหน่วงเวลาของมัน CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ผลรวมเรขาคณิตมีประโยชน์ในการคำนวณ DTFT ผลรวมเรขาคณิตแบบไม่จำกัด (Infinite geometric sum): ผลรวมเรขาคณิตแบบจำกัด (Finite geometric sum): CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ตัวอย่างการแปลง DTFT I จงหาการแปลง DTFT ของ x(n)=0.5nu(n) วิธีทำ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ตัวอย่างการแปลง DTFT II จงหาการแปลง DTFT ของ x(n)=0.5 เมื่อ และเป็น 0 เมื่อ n เป็นค่าอื่นๆ วิธีทำ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ตัวอย่างการแปลง DTFT III วิธีทำ สังเกต เครื่องหมาย ว่า n=0 อยู่ ณ ตำแหน่งของค่า 2 CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ผลตอบสนองความถี่ของระบบ เมื่อทำการประสานจะได้ การแปลงฟูริเยร์ที่ความถี่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

เป็นผลตอบสนองความถี่ของระบบ h(n) ใช้หาค่าของเอาท์พุท y(n) หรือเขียนในรูปโดเมนความถี่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

Frequency Response from Poles and Zeros ขนาดผลตอบสนองความถี่เป็น ขนาดจากซีโร่ ไปยังวงกลมหนึ่งหน่วย หารด้วย ขนาดจากโพลไปยังวงกลมหนึ่งหน่วย ณ ความถี่หนึ่ง B A ขนาดที่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

Example for Frequency Response สมมติว่า โพล = .8 ซีโร่ =0 ความถี่ต่ำ ความถี่กลางๆ ความถี่สูง B B A A A B B > A B = A B < A = มาก = กลางๆ = น้อย CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

Plot of Magnitude สูง ต่ำ กลาง B A CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ตัวอย่าง Example 4.4.1 หาผลลัพท์ของระบบ โดยมีอินพุทเป็น ลำดับ ที่ ได้ ที่ ได้ ดังนั้น CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

หาผลตอบสนองของ h(n) แสดงว่า zero มีตัวเดียว คือ z1=0 Pole มี p1=1/2 CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

การหาผลตอบสนองความถี่จากสมการผลต่าง (Frequency Response from Difference Equations) ให้ ดังนั้น ตัด CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

มีระบบ LSI ที่อธิบายได้ด้วย สมการผลต่าง ของอินพุทและเอาท์พุท ตัวอย่าง มีระบบ LSI ที่อธิบายได้ด้วย สมการผลต่าง ของอินพุทและเอาท์พุท จงหา ผลตอบสนองและสัญญาณ y(n) เมื่อ อินพุทเป็น วิธีทำ ผลตอบสนองความถี่ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

จึงได้จากการแปลง “เฟสเซอร์” ที่ ดังนั้น จึงได้จากการแปลง “เฟสเซอร์” ขนาด เฟส CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ทดสอบ ค่า y(n) ที่คำนวณ 4.092 ต่างเฟส =3.42 CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

การชักตัวอย่างสัญญาณ (Sampling) ทฤษฎีการชักตัวอย่างสัญญาณ กล่าวว่า “ความถี่ของสัญญาณชักตัวอย่าง จะต้องมากกว่า 2 เท่าของ ความถี่สูงสุดของสัญญาณ ( fmax)” หากความถี่สุ่ม = fs ดังนั้น ... สัญญาณชักตัวอย่าง CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

สเปคตรัม (Spectrum) และ ผลของการ ชักตัวอย่างสัญญาณ สเปคตรัมเป็นการแสดงค่าการกระจายของสัญญาณในเชิงความถี่ ผลของการสุ่มทำให้เกิด สเปคตรัมแบบเป็นคาบ (periodic) ความถี่ fmax หรือ f0 เรียกว่า ความถี่ไนควิสต์ (Nyquist Frequency) ความถี่ชักตัวอย่างสัญญาณ ต่ำสุดที่จะไม่เกิด aliasing จะเรียกว่า อัตราไนควิสต์ (Nyquist rate) สเปคตรัม ความถี่ = Nyquist rate CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

อะไรคือแอลิแอส (Aliasing) ? การเกิดแอลิแอส ในทาง dsp คือ “การเกิดการซ้อนทับของสเปคตรัม” สาเหตุคือ การที่ความถี่ชักตัวอย่างสัญญาณ น้อยกว่าสองเท่าของความถี่ไนควิสต์ หรือ ทางแก้: 1 ใช้ Anti-aliasing filter ซึ่งเป็น วงจรกรองต่ำผ่าน (Low pass filter) 2 ทำ Oversampling แอลิแอส CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ทฤษฎีการชักตัวอย่างสัญญาณและคืนรูปสัญญาณ (Sampling and Reconstruction) ผลตอบสนองของสัญญาณต่อเนื่องทางเวลา xa(t) คือ = ความถี่แอนาลอก เป็น เรเดียนต่อวินาที หาได้จากการแปลงฟูริเยร์ของ แปลงฟูริเยร์ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ความถี่แอนาลอกกับ ความถี่ดิจิตอล สัมพันธ์กันดังนี้ ผลของการชักตัวอย่างสัญญาณ ทำให้การแปลงฟูริเยร์เป็น รายคาบ (periodic) แปลงฟูเรียร์ สัญญาณสุ่ม มีความถี่= 1/T CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ทฤษฎีการสุ่ม สัญญาณชักตัวอย่าง: สัญญาณแอนะลอกที่ถูกชัก แปลง อิมพัลส์ เป็น สัญญาณ DT สัญญาณชักตัวอย่าง: สัญญาณแอนะลอกที่ถูกชัก ตัวอย่างสัญญาณ : สัญญาณไม่ต่อเนื่อง (DT): CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ทฤษฎีการชักตัวอย่างสัญญาณ (ต่อ) การแปลงฟูริเยร์สำหรับสัญญาณแอนาลอก xa(t) เมื่อ คือ ความถี่แอนาลอก หน่วยเรเดียนต่อวินาที (rad/sec) ทำการชักตัวอย่างสัญญาณแอนาลอก ด้วย ความถี่ T วินาที และแปลงฟูริเยร์ ก็ได้เป็น สัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

สมการแอลิแอส (Aliasing formula) การแปลง DTFT ของ x(n) ได้เป็น เป็น ผลรวมของ ที่ต่างความถี่ สมการแอลิแอส (aliasing formula) CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

เมื่อช่วงเวลาในการสุ่ม เกิด แอลิแอสและไม่สามารถคืนรูปสัญญาณได้ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

แบนด์วิทของสัญญาณที่ใช้ได้ (คือไม่เกิดแอลิแอส) ความถี่ในการสุ่มสัญญาณ Hertz แบนด์วิทมากสุดของสัญญาณ (ความถี่ไนควิสต์) Hertz สัญญาณสุ่มต้อง มีค่ามากกว่า แบนด์วิท 2 เท่า CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

การคืนรูปสัญญาณ (Reconstruction) ใช้วงจรกรองต่ำผ่านอุดมคติ กรองต่ำผ่าน CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

จากเรื่องการสุ่มเราได้ แปลงกลับเป็น อิมพัลส์ กรองต่ำผ่าน อุดมคติ ตัวแปลง D/C อุดมคติ CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ผลตอบสนองของวงจรกรองต่ำผ่านอุดมคติ แปลงผกผันฟูเรียร์ การคืนรูปสัญญาณ สูตรการทำ Interpolation CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

แต่ละจุดของ x(n) ถูกคูณด้วย sinc function ที่มีการเลื่อน ตำแหน่ง dsp_3_1.jpg แต่ละจุดของ x(n) ถูกคูณด้วย sinc function ที่มีการเลื่อน ตำแหน่ง dsp_3_2.jpg CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ผลการคูณของแต่ละตำแหน่ง CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

ผลรวมของการทำ interpolation คือสัญญาณคืนรูป dsp_3_9.jpg CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon

สรุป DFS ใช้วิเคราะห์ สัญญาณรายคาบ DTFT ใช้วิเคราะห์สัญญาณทั้งเป็นรายคาบและไม่เป็นรายคาบ การชักตัวอย่างสัญญาณทำให้เกิดผลตอบสนองความถี่ที่เป็นรายคาบ โดยความถี่การชักตัวอย่างจะต้องมากกว่า 2 เท่า ของ ความถี่แอนาลอกสูงสุด การคืนรูปสัญญาณได้โดยการใช้วงจรกรองต่ำผ่านกับสัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา CESdSP EEET0485 Digital Signal Processing http://embedsigproc.wordpress.com Assoc. Prof. Dr. P.Yuvapoositanon