หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การใช้งานโปรแกรม SPSS
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ทบทวนอสมการกำลัง 1 การหาเซตคำตอบของ อสมการ ตัวอย่า ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
Pushdown Automata : PDA
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
กระบวนการของการอธิบาย
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ข้อสอบ จำนวนเชิงซ้อน.
ความหมายของสื่อการเรียนรู้ เรื่อง แผนภูมิ วิธีการทำ การทำสามารถทำได้หลายวิธี และสมารถ ใช้โปรแกรมในการทำได้หลากหลาย อย่างเช่น โปรแกรม Microsoft Excel.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น คุณครูจักรินทร์ ทะสะระ.
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Elements of Thermal System
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
สื่อประกอบการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง เรื่อง รากที่สาม สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

พิจารณาตัวอย่าง 73 = 7 × 7 × 7 = 343 7 เป็นรากที่สามของ 343

(-10)3 = (-10)× (-10) × (-10) = -1,000 -10 เป็นรากที่สามของ -1,000

รากที่สามของ a คือ จำนวนจริง ที่ยกกำลังสามแล้วได้ a บทนิยาม ให้ a แทนจำนวนจริงใด ๆ รากที่สามของ a คือ จำนวนจริง ที่ยกกำลังสามแล้วได้ a 3 a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

สัญลักษณ์ อ่านว่า 3 a รากที่สามของ a จากบทนิยามจะได้ ( ) a 3 = a

ดังนั้นรากที่สามของ 8 คือ 2 ตัวอย่าง เนื่องจาก 23 = 8 ดังนั้นรากที่สามของ 8 คือ 2 8 3 = 2 หรือ

ตัวอย่าง เนื่องจาก (-4)3 = -64 ดังนั้นรากที่สามของ -64 คือ -4 ตัวอย่าง เนื่องจาก (-4)3 = -64 ดังนั้นรากที่สามของ -64 คือ -4 -64 3 = -4 หรือ

ตัวอย่าง เนื่องจาก (0.3)3 = 0.027 ดังนั้นรากที่สามของ 0.027 คือ 0.3 ตัวอย่าง เนื่องจาก (0.3)3 = 0.027 ดังนั้นรากที่สามของ 0.027 คือ 0.3 0.027 3 = 0.3 หรือ

ตัวอย่าง เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 12 ตัวอย่าง เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 12 12 3 ดังนั้น จึงเขียน แทนรากที่ สามของ 12 12 3 เป็นจำนวนอตรรกยะ

ถ้าสามารถหาจำนวนเต็มจำนวน หนึ่ง ที่ยกกำลังสาม แล้วเท่ากับ จำนวนเต็มที่กำหนดให้ รากที่สาม ของจำนวนนั้น จะเป็น จำนวน ตรรกยะ ที่เป็นจำนวนเต็ม

ถ้าไม่สามารถหาจำนวนเต็ม ที่ยกกำลังสาม แล้วเท่ากับจำนวน เต็มที่กำหนดให้ รากที่สามของ จำนวนนั้น จะเป็น จำนวนอตรรกยะ

-512 -512 (-8)×(-8)×(-8) = (-8)3 = -512 = -8 ตัวอย่างที่1 จงหา วิธีทำ เนื่องจาก -512 3 (-8)×(-8)×(-8) 3 = (-8)3 3 = ดังนั้น -512 3 = -8 ตอบ -8

( ) = = ตัวอย่างที่2 จงหา วิธีทำ เนื่องจาก = ดังนั้น = ตอบ 4 4 3 4 3 4 64 27 3 × 4 = วิธีทำ เนื่องจาก 3 64 27 3 ) 4 = ( 4 3 = 4 3 = ดังนั้น 3 64 27 ตอบ 4 3

0.125 0.125 (0.5)3 = = 0.5 0.125 = 0.5 ตัวอย่างที่3 จงหา วิธีทำ เนื่องจาก 0.125 3 (0.5)3 3 = = 0.5 ดังนั้น 0.125 3 = 0.5 ตอบ 0.5

21 21 ตัวอย่างที่4 จงหา วิธีทำ เนื่องจาก ไม่มีจำนวนเต็มใดที่ ตัวอย่างที่4 จงหา 21 3 วิธีทำ เนื่องจาก ไม่มีจำนวนเต็มใดที่ ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 21 21 3 ดังนั้น แทนรากที่สามของ 21

วิธีทำ เนื่องจาก ไม่มีเศษส่วนใดที่ ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ ตัวอย่างที่5 จงหา 3 9 4 วิธีทำ เนื่องจาก ไม่มีเศษส่วนใดที่ ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 9 4 ดังนั้น เป็นรากที่สามของ 3 9 4

รากที่สามของจำนวนจริงใดๆ มี เพียงรากเดียว เช่น รากที่สามของ 8 คือ 2 รากที่สามของ -8 คือ -2 ในขณะที่รากที่สองของจำนวน จริงบวกใดๆ มีสองราก เช่น รากที่สองของ 9 คือ 3 และ -3

ลองทำดู

จงหารากที่สามของจำนวนต่อไปนี้ 1) 27 วิธีทำ เนื่องจาก 27 = 33 วิธีทำ เนื่องจาก 27 = 33 ดังนั้น รากที่สามของ 27 คือ 3 27 3 = 3 หรือ ตอบ 3

วิธีทำ เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 40 2) 40 วิธีทำ เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 40 ดังนั้น จึงเขียน แทนรากที่ สามของ 40 40 3 40 3 ตอบ

ดังนั้น รากที่สามของ 512 คือ 8 3) 512 วิธีทำ เนื่องจาก 512 = 83 ดังนั้น รากที่สามของ 512 คือ 8 = 8 หรือ 512 3 ตอบ 8

วิธีทำ เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 650 4) 650 วิธีทำ เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 650 ดังนั้น จึงเขียน แทนราก ที่สามของ 650 650 3 650 3 ตอบ

) ( 27 - 64 27 - 64 27 - 64 5) 3 วิธีทำ เนื่องจาก = 4 รากที่สามของ คือ รากที่สามของ คือ 64 27 - 4 3 หรือ 3 64 27 - 4 = ตอบ 4 3 -

( ) 6) 6 วิธีทำ เนื่องจาก 9 รากที่สามของ คือ ตอบ 729 216 729 216 9 6 3 = รากที่สามของ คือ 9 6 729 216 9 6 ตอบ

วิธีทำ เนื่องจากไม่มีเศษส่วนใด ที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 7) 50 18 วิธีทำ เนื่องจากไม่มีเศษส่วนใด ที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 50 18 ดังนั้น จึงเขียน แทนราก ที่สามของ 3 50 18 ตอบ 3 50 18

ดังนั้น รากที่สามของ 0.008 คือ 0.2 8) 0.008 วิธีทำ เนื่องจาก 0.008 = (0.2)3 ดังนั้น รากที่สามของ 0.008 คือ 0.2 = 0.2 หรือ 0.008 3 ตอบ 0.2

วิธีทำ เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 0.05 9) 0.05 วิธีทำ เนื่องจากไม่มีจำนวนเต็ม ใดที่ยกกำลังสามแล้วเท่ากับ 0.05 ดังนั้น จึงเขียน แทนราก ที่สามของ 0.05 0.05 3 0.05 3 ตอบ

10) 0.000729 วิธีทำ เนื่องจาก 0.000729 = (0.09)3 รากที่สามของ 0.000729 คือ 0.09 หรือ = 0.09 0.000729 3 ตอบ 0.09

การบ้าน แบบฝึกหัดที่ 2.4 ก หน้าที่ 74-75 ข้อ 2 (1- 8)