การสร้าง function ( โปรแกรมย่อย ) function output = FunctionName (input1, input2, …) การทำงานภายในฟังก์ชัน Editor วิธีเขียน - ต้องขึ้นต้นด้วยคำว่า function.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โปรแกรมการคำนวณค่า sin รายชื่อผู้เสนอโครงงาน
Chapter 1 Functions and Their Graphs 1. 6 – 1
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
โจทย์ หาราคาค่าเช่าห้องพัก โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าพักไม่เกิน5วัน จะไม่มีส่วนลด ถ้าพัก5-8วัน จะมีส่วนลด 5% แต่ถ้าพักมากกว่า8วันขึ้นไป จะมีส่วนลด 10%
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ครั้งที่ 8 Function.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
องค์ประกอบของโปรแกรม
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
ไกรฤกษ์ เชยชื่น, M.Eng. Electrical
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
บทที่ 5 ฟังก์ชันของ PHP การประกาศฟังก์ชัน { Statement; }
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 6 เมธอด.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
Nested loop.
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
โรค อ้วน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้าง function ( โปรแกรมย่อย ) function output = FunctionName (input1, input2, …) การทำงานภายในฟังก์ชัน Editor วิธีเขียน - ต้องขึ้นต้นด้วยคำว่า function - output คือ ชื่อตัวแปรที่ต้องการให้ส่งคืน ออกมาจากฟังก์ชัน - FunctionName คือ ชื่อของฟังก์ชันจะเป็นชื่อ เดียวกับตอน save ไฟล์ - input คือ ชื่อตัวแปรที่จะส่งค่าเข้าไปใช้ใน ฟังก์ชัน

จงเขียนโปรแกรมซึ่งมีส่วนของโปรแกรมหลัก และส่วนของฟังก์ชัน ที่แต่ละส่วนทำงานดังนี้ ฟังก์ชัน - รับค่าจากตัวแปร 2 ตัวคือ x และ y มา คำนวณดังนี้ x = x + 10; z = x + y; - คืนค่า z เป็นผลลัพธ์ออกมาจากฟังก์ชัน โปรแกรมหลัก - รับค่าตัวเลข 2 ตัว จากคีย์บอร์ด ให้ชื่อ ตัวแปรเป็น ix และ iy - ส่งค่าของ ix และ iy เข้าไปทำการ คำนวณในฟังก์ชัน - ให้ตัวแปรชื่อ iz รับค่าผลลัพธ์จาก ฟังก์ชันมาแสดงผล

โปรแกรมหลัก (main.m) ix = input(“ix = ? ”); iy = input(“iy = ? ”); iz = cal_z(ix, iy); disp(“iz = ”); disp(iz); function z = cal_z(x, y); x = x + 10; z = x + y; ฟังก์ชัน (cal_z.m)

จงเขียนโปรแกรมซึ่งมีส่วนของโปรแกรมหลัก และส่วนของฟังก์ชัน ที่แต่ละส่วนทำงานดังนี้ ฟังก์ชัน - รับค่าจากตัวแปร 2 ตัวคือ x และ y มา คำนวณดังนี้ x = x + 10; z = x + y; a = 4 * z; - คืนค่า z และ a เป็นผลลัพธ์ออกมาจาก ฟังก์ชัน โปรแกรมหลัก - รับค่าตัวเลข 2 ตัว จากคีย์บอร์ด ให้ชื่อ ตัวแปรเป็น ix และ iy - ส่งค่าของ ix และ iy เข้าไปทำการ คำนวณในฟังก์ชัน - ให้ตัวแปรชื่อ iz และ ia รับค่าผลลัพธ์ จากฟังก์ชันมาแสดงผล

โปรแกรมหลัก (main.m) ix = input(“ix = ? ”); iy = input(“iy = ? ”); [iz, ia] = cal_za(ix, iy); disp(“iz = ”); disp(iz); disp(“ia = ”); disp(ia); function [z, a] = cal_za(x, y); x = x + 10; z = x + y; a = 4 * a; ฟังก์ชัน (cal_za.m)

จงเขียนโปรแกรมคำนวณความเร็วและระยะการ กระจัดในแนวดิ่งที่เวลาที่ต้องการเมื่อปล่อยวัตถุ ลงมาในแนวดิ่ง โดยที่ โปรแกรมหลักจะรับค่าการกระจัดเริ่มต้น (y0) ความเร็วเริ่มต้น (v0) และเวลา (t) จาก คีย์บอร์ด แล้วส่งไปให้ฟังก์ชันคำนวณความเร็ว และระยะการกระจัดในแนวดิ่งส่งกลับออกมายัง โปรแกรมหลัก จากนั้นโปรแกรมหลักนำค่าที่ ได้มาแสดงผล y v0 y0