PHP Html Form && Query string

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
Advertisements

Active Sever Page.
การรับค่าและแสดงผล.
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP Objects
Function.
Location object Form object
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ทส215 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 1
การส่งค่าและการเก็บค่า (ต่อ... )
การสร้าง Web Page จาก Wizard
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
Request Object.
SCC : Suthida Chaichomchuen
การเชื่อมต่อฐานข้อมูลด้วย PHP
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
– Web Programming and Web Database
– Web Programming and Web Database
Introduction to php Professional Home Page :PHP
จากไฟล์ save_db.php.
การกำหนดค่าเริ่มต้นและ การใช้งาน server ผ่าน Dreamweaver
โปรแกรม Microsoft Access
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
PHP.
ASP.NET Server Control.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
การสร้างช่องรับข้อมูล
PHP Personal Home Page PHP Lesson in Update : August 23,2012.
1 Javascript with Form. 2 Javascript - Get data from form post method formname.field.value get method formname.getElementById(“field")
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับตัวแปร
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
HTML, PHP.
การสร้างและใช้งานฟังก์ชั่น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Microsoft Word MailMerge
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
การประมวลผลสายอักขระ
3.2 ASP - ASP เป็นโปรแกรมที่มากับ Internet Information Server (IIS)
โปรแกรม Microsoft Access
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
ฟังก์ชัน.
CHAPTER 3 System Variables and Array
CHAPTER 12 FORM.
Chapter 10 Session & Cookie.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
บทที่ 5 Function. Function Function เป็นการแบ่งโค้ดโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อทำงานบางอย่าง - โค้ดโปรแกรมเรียงต่อกันยาว - สามารถเรียกใช้ Function ซ้ำได้
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
CHAPTER 2 Operators.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Form.
โครงสร้างของภาษา HTML
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PHP Html Form && Query string

Outline การส่งข้อมูลด้วย Html Form การส่งข้อมูลด้วย Querystring

การส่งข้อมูลด้วย Html Form รูปแบบ $var-name หากต้องการพิมพ์ข้อความออกมา echo $var-name;

รูปแบบ <form=" [action=url]" name="ชื่อฟอร์ม" method="[post/get]"> . code . </form>

ดูตัวอย่างซักตัวอย่าง Php2-1.php <html> <head> <form name="form1" method="post" action="Php2-2.php"> ชื่อ <input type="text" name="name"> <br> นามสกุล <input type="text" name="surname"> <br> <br> <input type="submit" value="Submit"> <input type="reset"value="Reset"> </form> </body> </html>

ต่อ Php2-2.php <html> <body> ชื่อ <? echo $name; ?> <br> นามสกุล <?echo $surname; ?> </body> </html> Out Put

แบบฝึกหัด 1 PHP2-3.php PHP2-4.php ชื่อ ชื่อ xxxxx นามสกุล นามสกุล Name ชื่อ xxxxx นามสกุล Surname นามสกุล xxxxx ที่อยู่ Address ที่อยู่ Xxxxxxxxxx เพศ ชาย หญิง Sex เพศ xxxxx Submit Cancel

Querystring คืออะไร ? Querystring คือข้อมูลที่ Browser ส่งต่อท้าย URL ของ Page ที่ต้องการใช้ไปยัง Web Server โดยข้อมูลจะประกอบไปด้วยชื่อของข้อมูลและค่าของข้อมูล รูปแบบ http://127.0.0.1/file-name.php?var-name=value หากต้องการส่งค่ามากกว่าหนึ่งค่า ให้ใช้เครื่องหมาย & ขั้นระหว่างตัวแปร รูปแบบ http://127.0.0.1/file-name.php?var-name1=value&var-name2=value การอ่านข้อมูลจาก Querystring สามารถอ่านได้จากค่า var-name ที่เราตั้งขึ้นมาได้เลย เช่น $var-name echo $var-name;

การสร้างข้อมูลให้อยู่ในรูป Querystring สามารถ สร้างได้ 3 รูปแบบคือ 1. สร้างจาก Tag <a>... </a> กำหนดในส่วนคุณสมบัติของ HREF ของ TAG <a> </a> ตัวอย่าง Php2-5.php <html> <body> <a href=“php2-6.php?name=werachai numkitram&old=21">Test Querystring </a> </body> </html> Out Put

ต่อ Php2-6.php <html> <body> ชื่อ <? echo $name; ?> <br> อายุ<? echo $old; ?> </body> </html> Out Put

2. การสร้าง Querystring ด้วย HTML Form เหมือนกันการออกแบบ Form ธรรมดาครับ แต่แตกต่างตรงที่ method="get" ตัวอย่าง Php2-7.php <html> <body> <form name="form1" method="get" action= "php2-8.php"> ชื่อ <input type="text" name="name"> <br> อายุ <input type="text" name="old"> <br> <br> <input type="submit" value="Submit"> <input type="reset" value="Reset"> </form> </body> </html> Out Put

ต่อ Php2-8.php <html> <body> ชื่อ <? echo $name; ?> <br> อายุ<? echo $old; ?> </body> </html> Out Put

3. การนำค่า Querystring จากค่าของตัวแปรก็สามารถทำได้ Php2-9.php Php2-10.php <html> <body> <? $name="วีระชัย นุกิจรัมย์"; $old=21; ?> <a href=“php2-10.php?name=<?echo $name;?>&old=<?echo $old; ?>">Test Querystring </a> </body> </html> <html> <body> ชื่อ <? echo $name; ?> <br> อายุ<?echo $old; ?> </body> </html>

แบบฝึกหัด form.php Name :: Age :: 15,18,20,25 Address :: E-mail :: Number of Product :: 1,2,3,4,5,6,7,8,9,10 Color :: Red Green Yellow Sex :: Male Female Submit Cancel