Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements


นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
อนุสัญญา CITES การตีความเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติมีผลกระทบอย่างมากต่อ ขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ เกี่ยวพันอย่างสลับซับซ้อนกับมิติทางการพัฒนาเศรษฐกิจ.
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
(quantitative genetics)
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
วิธีการทางวิทยาการระบาด
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
การสืบพันธุ์ของพืช.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
Expected Means Square and random effect By Mr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, KKU.
Chi-square Test for Mendelian Ratio
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การผลิตเนื้อโคขุนโพนยางคำ
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
ศัลยกรรมเสริม หน้าอก. สารบัญ  ลักษณะของถุงเต้านมเทียม  รูปทรงของถุงเต้านม  ขั้นตอนการผ่าตัดเสริมหน้าอก  การดูแลหลังการผ่าตัดเสริมหน้าอก.
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
มัลติเปิลแอลลีล (Multiple allele)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
Mating System Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science Faculty of Agriculture, KKU

Mating System Mating system หรือ ระบบการผสมพันธุ์สัตว์ หมายถึง :: กระบวนการหรือวิธีการเลือกคู่ผสมพันธุ์ของสัตว์โดยมีการตัด สินใจที่ชัดเจน :: วัตถุประสงค์ของการวางระบบการผสมพันธุ์สัตว์ คือ 1.) เพื่อรักษาความเป็นธรรมชาติดั้งเดิม (uniform, wild animal) 2.) เพื่อสร้างสัตว์สายพันธุ์ใหม่ (New Animal, ล่อ liger) 3.) เพื่อรักษาความเป็นพันธุ์แท้ (Pure breed, native animal) 4.) เพื่อเพิ่มระดับเลือดของพันธุ์ (Up grading) 5.) เพื่อหลีกเลี่ยงเลือดชิด (Avoidable Inbreeding) 6.) เพื่อต้องการความดีเด่นเหนือพ่อแม่ (Heterosis)

Mating System Mating System Non-random mating Random mating Inbreeding Outbreeding Selfing Sibling Sire-offspring Linebreeding Outcrossing Linecrossing Grading Up Species crossing Crossbreeding Synthetic crossing 2-Breed crossing 3-Breed crossing Sequence crossing Backcross 2-Breed Rotational crossing 3-Breed Rotational crossing

Random mating vs Non-random mating คือ การผสมพันธุ์ที่สัตว์ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีโอกาส ผสมพันธุ์กับสัตว์ตัวใดก็ได้ โดยเป็นไปอย่างสุ่ม Non - random mating คือ การผสมพันธุ์ที่สัตว์ทั้งตัวผู้และตัวเมียไม่มีโอกาส ผสมพันธุ์กับสัตว์ตัวใดก็ได้ อาจเกิดจากหลาย สาเหตุ เช่น

Non - random mating มีคนเข้าไปจัดการ เช่น การผสมเทียม การคัดเลือก มีคนเข้าไปจัดการ เช่น การผสมเทียม การคัดเลือก โรคระบาด

Non - random mating Non – random mating สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่คือ Inbreeding Outbreeding

Inbreeding ข้อดี ข้อเสีย ยีนมรณะหรือ ยีนที่ผิดปกติต่างๆ  เพิ่มความเหมือนทางพันธุกรรม (homozygous) ข้อเสีย  เกิดความเสื่อมของลักษณะ (Inbreeding depression) หมายถึง เพิ่มโอกาสของการแสดงลักษณะด้อยที่ควบคุมด้วย ยีนมรณะหรือ ยีนที่ผิดปกติต่างๆ

Inbreeding Inbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ อะมีบา Selfing หรือ Self-fertilization Cloning Sibling Sire – offspring Linebreeding Human cloning Fullsib Halfsib Dolly sheep

Inbreeding Inbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ Sire – offspring Linebreeding Sire-daughter mating (frozen semen) Dam Line1 Line2 Daughter Grand Daughter Great-Grand Daughter

Outbreeding ไม่เป็นเครือญาติกัน ไม่มีบรรพบุรุษร่วมกัน ข้อดี ข้อเสีย  เพิ่มความแตกต่างทางพันธุกรรม (heterozygous)  สร้างสัตว์ที่มีลักษณะดีเด่นเหนือกว่าพ่อแม่ (heterosis or hybrid vigor) ข้อเสีย  พันธุกรรมดั้งเดิมสูญหายไป (genetic loss; AA, aa)

Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ Unknown > 4 ancestor Outcrossing Crossbreeding** Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) Seedstock breeders or Pure breed

Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ InBreedLine1 InBreedLine2 Outcrossing Crossbreeding Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) เป็นระบบการผสมพันธุ์แบบเพิ่มเลือดชิดภายในสาย จากนั้นจะนำแต่ละสายมาผสมพันธุ์กันเพื่อเป็นการ เพิ่ม heterosis เป็นระบบที่ดัดแปลงมาจากการผสมพันธุ์ข้าวโพด ใช้หลักการของ G = A + D + I เข้ามาเกี่ยวข้อง

Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ A: Sire 100% B: Dam 100% Outcrossing Crossbreeding Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) A: Sire 100% A: 50%B: 50% A: Sire 100% A: 75%B: 25% เป็นระบบการผสมพันธุ์เพื่อเพิ่มระดับสายเลือด สัตว์ลูกผสมจะมีระดับเลือดเพิ่มมากขึ้น จนกลายเป็นพันธุ์แท้ได้ ใช้พ่อพันธุ์เข้าผสมเลือด 100% ในแต่ละชั่วรุ่น

Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ Outcrossing Crossbreeding Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) ass horse mule เป็นระบบการผสมพันธุ์สัตว์ต่าง species กัน สัตว์แต่ละ species จะผสมพันธุ์กันได้ต้องมีจำนวนโครโมโซมเท่ากัน มีสรีรวิทยาใกล้เคียงกัน จะได้สัตว์ลูกผสมสายพันธุ์ใหม่ แต่จะเป็นหมันไม่สามารถสืบพันธุ์ต่อได้

Outbreeding Outbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ Outcrossing Crossbreeding** Linecrossing Grading up Species cross (hybridization) เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่นิยมมากระบบหนึ่ง เป็นระบบที่เหมาะสำหรับสร้างสัตว์ที่มีความดีเด่นกว่าพ่อแม่ เป็นระบบที่ต้องมีสัตว์อย่างน้อย 2 สายพันธุ์เข้ามาเกี่ยวข้อง หากต้องการพันธุกรรมของสัตว์พันธุ์ใดมากที่สุด ในลูกรุ่นสุดท้าย ควรจัดสัตว์พันธุ์นั้นเป็นสายพ่อพันธุ์ ควรพิจารณาถึง maternal effect และใช้เพศผู้เป็นน้ำเชื้อดีกว่า เพราะจัดการง่าย

Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่ใช้สัตว์ 2 สายพันธุ์มาผสมกัน เป็นระบบการผสมพันธุ์สำหรับใช้ผลิตสัตว์ที่มีความดีเด่นเหนือพ่อแม่

Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing C AB ABC เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่ใช้สัตว์ 3 สายพันธุ์มาผสมกัน เป็นระบบการผสมพันธุ์สำหรับใช้ผลิตสัตว์ที่มีความดีเด่นเหนือพ่อแม่

Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing A AB ¾ A ½ B เป็นระบบการผสมพันธุ์ที่ใช้ลูกผสมชั่วแรกเพศเมีย ผสมกลับไปยังพ่อพันธุ์ตัวเดิม ใช้ผลิตสัตว์เพื่อขุนขายเป็นการค้า

Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing A ½ A ½ B B ¾ A ½ B เป็นระบบการผสมข้ามสลับระหว่างสัตว์ 2 สายพันธุ์ 3/8 A 5/8 B สลับพ่อพันธุ์ทั้ง 2 สายพันธุ์

Outbreeding Crossbreeding สามารถแบ่งเป็นระบบการผสมพันธุ์ย่อยได้ดังนี้ A B 2-way crossing or 2-breed crossing 3-way crossing or 3-breed crossing Backcross Criss crossing or 2-breed rotational crossing 3-breed rotational crossing C ½ A ½ B A ¼A¼B½C เป็นระบบการผสมข้ามสลับระหว่างสัตว์ 3 สายพันธุ์ ABC สลับพ่อพันธุ์ทั้ง 3 สายพันธุ์

Heterosis Crossbreeding system Merit of components ต้องการความดีเด่นอะไร จากสัตว์พันธุ์อะไร Heterosis ระดับ heterosis ที่จะได้มากน้อยแค่ไหน Breed complementary ผสมพันธุ์สัตว์เพื่อเสริมความดีเด่นซึ่งกันและกันหรือไม่ Replacement การหาสัตว์ทดแทนฝูงยากหรือง่าย Accuracy ความแม่นยำในการคัดเลือก

สวัสดี