“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
14. แผนงบประมาณกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปีงบประมาณ พ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตำบลเมืองยาว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
นโยบายด้านบริหาร.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
“เยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์”
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ” ด้านผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุ - จำนวน 8,970,740 คน ร้อยละ 13.8 ของประชากร ทั้งประเทศ (ทะเบียนราษฎร์ ปี 2556, กรมการปกครอง) - ปี 2570 ประเทศไทยเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ จำนวน 16,150,000 คน คิดเป็น 1 ใน 4 ของประชากรไทยและมีผู้สูงอายุมากกว่า 80 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้น (ประมาณการประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2553-2583, สศช.) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 - แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ.2545-2564 กลไก : คณะกรรมการ ผู้สูงอายุแห่งชาติ (กผส.) นายกรัฐมนตรี : ประธานกรรมการ รมว.พม. : รอง ประธานกรรมการ “สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ” จุดเน้นการดำเนินงาน การเตรียมความพร้อมประชากรเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม ส่งเสริมการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ พัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง

แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ การเตรียมความพร้อมทุกช่วงวัย - การพัฒนาและเผยแพร่หลักสูตรการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุให้แก่หน่วยงานทุกภาคส่วน - การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้แก่กลุ่มวัยต่างๆ เด็ก และเยาวชน - ปลูกฝังความกตัญญู - วินัยเชิงบวกในด้านการออม - การดูแลสุขภาพ การเตรียมความพร้อมประชากรเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ วัยทำงาน - การวางแผนทางการเงินเพื่อสร้างหลักประกันในวัยสูงอายุ - การดูแลสุขภาพ - การมีบ้านและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย วัยสูงอายุ - การเข้าถึงสิทธิ บริการ และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และการเตรียมตัวรับความตาย

แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ ส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม คลังปัญญาผู้สูงอายุ 1. ส่งเสริมการนำประสบการณ์ความรู้ของผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมด้วยภูมิปัญญา 2. ส่งเสริมการทำงานหรือสร้างอาชีพ สร้างรายได้เสริมให้แก่ผู้สูงอายุ กองทุนผู้สูงอายุ 1. สนับสนุนการกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ รายกลุ่มและรายบุคคล 2. สนับสนุนกิจกรรมขององค์กรที่ดำเนินงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสนับสนุนผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ กิจกรรมภายในศูนย์ 1. ส่งเสริมสุขภาพอนามัย 2. สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ 3. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมด้านอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้ 4. ส่งเสริมการผลิต การจำหน่วยผลิตภัณฑ์และการรับงานไปทำที่บ้าน 5. การถ่ายทอดวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. กิจกรรมนันทนาการ ประเพณี 7. จัดให้มีระบบฐานข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ กลไกบริหารจัดการศูนย์ - คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ (ประธานเป็นผู้แทนจากชมรมผู้สูงอายุ) - อปท.เป็นที่ปรึกษาและสนับสนุนการดำเนินงาน - กลุ่ม องค์กร - อาสาสมัคร - ภาคีเครือข่าย กิจกรรมภายนอกศูนย์ 1. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง 2. ประสาน เชื่อมโยงการให้บริการของหน่วยงานต่างๆ ตามความต้องการของผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง

แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ พัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง การขยายผลระบบงานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (บ้านกลาง) เสริมสร้างความรู้ด้านการดูแลผู้สูงอายุให้แก่บุคลากรและอาสาสมัครเพื่อสามารถให้บริการแก่ผู้สูงอายุในรูปแบบที่เหมาะสม การขับเคลื่อนงานโครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม การป้องกันช่วยเหลือผู้สูงอายุในภาวะภัยพิบัติ การสร้างภูมิคุ้มกันภัยทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ การสร้างความสุขผู้สูงวัย สังคมไทยอยู่เย็นเป็นสุข การจัดทำแผนการดูแลช่วยเหลือคุ้มครองผู้สูงอายุเฉพาะราย