อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
Physiology of Crop Production
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
โครโมโซม.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
ดูวัวให้ดูที่หาง ดูนางให้ดูที่แม่ แต่ถ้าจะให้แน่ต้องดูที่ยาย
(quantitative genetics)
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ 1. ความงอก (germination) หรือความมีชีวิต (viability)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ใบ Leaf or Leaves.
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
โครงการธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปี แห่งการวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
Artificial Intelligence (AI)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
การสืบพันธุ์ของพืช.
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การบ้าน กำหนดให้ ยีน R ควบคุมการมีสีแดง ข่มยีน r ซึ่งควบคุมการมีสีขาวอย่างไม่สมบูรณ์ (co-dominant alleles) โดยโค Rr จะมีสีโรน หากฝูงโคหนึ่ง พบว่ามีสีแดงอยู่
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ปลาหางนกยูง.
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
มัลติเพิลอัลลีล MULTIPLE ALLELES
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
Kingdom Plantae.
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส (Extrachromosomal Inheritance) อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนที่มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมในนิวเคลียส เรียกลักษณะพันธุกรรมเหล่านี้ว่า ‘Mendelian inheritance’ ยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมไม่ได้มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมในนิวเคลียส แต่อยู่ในไซโตพลาสซึม เรียกลักษณะพันธุกรรมเหล่านี้ว่า ‘Extrachromosomal inheritance’

หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส ลักษณะใดก็ตามเมื่อมีการผสมระหว่างพ่อแม่ทั้งสายผสมตรงและสายผสมสลับพ่อแม่ ลูกผสมที่ได้ของทั้ง 2 สาย มีอัตราส่วนไม่เท่ากัน และพิสูจน์ได้ว่าไม่ใช่ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมเพศแล้ว แสดงว่า ลักษณะนั้นควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส ลักษณะใดก็ตามเมื่อมีการผสมระหว่างพ่อแม่ทั้งสายผสมตรงและสายผสมสลับพ่อแม่ ลูกผสมที่ได้ของทั้งสองสาย แสดงลักษณะออกมาเหมือนกับฝ่ายแม่ตลอดเวลา (maternal inheritance) แสดงว่าลักษณะดังกล่าวควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส

ถ้ายีนควบคุมลักษณะใดก็ตามไม่สามารถจะกำหนดได้ว่ามีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมใดในนิวเคลียสและอยู่ชิดกับยีนใดบนโครโมโซม ลักษณะใดก็ตามถ้ายีนที่ควบคุมลักษณะนั้นไม่มีการแยกตัวของยีน หรือมีการแยกตัวของยีน แต่ไม่เป็นไปตามกฎเมนเดล ลักษณะใดก็ตามที่มีการถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวจากชั่วอายุหนึ่งไปยังอีกชั่วอายุหนึ่ง โดยปราศจากการถ่ายทอดทางโครโมโซมในนิวเคลียส ถ้ายีนที่ควบคุมลักษณะใดก็ตามมีการเปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธุ์ไป แต่ไม่ใช่การกลายพันธุ์ของยีนบนโครโมโซม

อิทธิพลของฝ่ายแม่ (maternal effect) ลักษณะที่ปรากฏของลูกเป็นผลมาจากอิทธิพลของพันธุกรรมของฝ่ายแม่ ลักษณะที่ปรากฏในลูกนี้อาจจะเกิดชั่วคราว หรือเกิดแบบถาวรก็ได้

อิทธิพลของแม่ในหอย (maternal effect in snail : Limnaea peregra) D:เวียนขวา d:เวียนซ้าย อิทธิพลของแม่ในหอย (maternal effect in snail : Limnaea peregra) ที่มา http://www.bio.miami.edu/dana/250/250SS10_6.html

ตัวอย่างของลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนนอกนิวเคลียส พันธุกรรมของสีในพลาสติด (inheritance of color in plastids) พลาสติดเป็นออร์แกเนลล์ที่อยู่ในไซโตพลาสซึม แบ่งตัวเอง และสามารถถ่ายทอดทางไซโตพลาสซึมได้ คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติดที่มีสีเขียว เนื่องจากมีคลอโรฟิลล์ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์แสงของพืช ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่มีสีขาว เกิดจากคลอโรพลาสต์สูญเสียคลอโรฟิลล์ ทำหน้าที่ในการสะสมอาหาร

X X X แม่ ใบลาย ยีโนไทป์ ijij ใบสีเขียว พ่อ IjIj แม่ ใบสีเขียว IjIj ใบลาย พ่อ ijij X X Ijij Ijij Ijij ใบสีเขียว ใบสีขาว ใบลาย IjIj ใบสีเขียวทั้งหมด F1 F1 ใบลาย ยีโนไทป์ Ijij ใบสีเขียว พ่อ IjIj X ลูก IjIj IjIj IjIj Ijij Ijij Ijij ใบสีเขียว ใบสีขาว ใบลาย ใบสีเขียว ใบสีขาว ใบลาย Rhoades (1943)

การเป็นหมันของดอกตัวผู้ (male sterility) การเป็นหมันของดอกตัวผู้ที่ควบคุมด้วยยีนในนิวเคลียส (genetic male sterility) msms Msms X Msms msms male fertile male sterile

X การเป็นหมันของดอกตัวผู้ที่ควบคุมด้วยยีนในไซโตพลาสซึม (cytoplasmic male sterility) S F X male sterile male fertile S male sterile

การเป็นหมันของดอกตัวผู้ที่ควบคุมด้วยยีนในไซโตพลาสซึมและยีนในนิวเคลียส (cytoplasmic genetic male sterility) S F X rr Rr S S rr Rr male sterile male fertile