แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
ข้อแนะนำในการนำเสนอโครงการ
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การสร้างคำถาม.
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
รายงานการวิจัย.
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
ข้อแนะนำในการนำเสนอโครงการ
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
Seminar in computer Science
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
งานวิจัยที่ดี.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
นำเสนอหนังสือวิชาการ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การเขียนโครงการ.
การจัดกระทำข้อมูล.
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวิเคราะห์ผู้เรียน
 เครื่องมือทางการตลาดเพื่อนำเสนอตัวเอง  เป็นข้อเท็จจริงที่บอกถึงความสำเร็จในอาชีพ การงานที่ผ่านมา  แสดงถึงคุณสมบัติและความสามารถ  เป็นเครื่องพิสูจน์ว่าคุณมีคุณสมบัติเหมาะสมกับ.
บทนำ บทที่ 1.
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
แบบสอบถาม (Questionnaires)
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การฟังเพลง.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การสร้างสรรค์บทละคร.
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนโครงการ.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ความคิดรวบยอดสอน อย่างไร : การใช้คำถาม คุณภาพของ คำถาม คำถามมีหลายประเภท คุณภาพ ของคำถามจึงอยู่ที่ ลักษณะของ คำถาม และลักษณะการตั้งคำถาม.
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ เช่น พูด เขียน หรือท่าทาง เป็นต้น

แบบทดสอบ อาจแบ่งได้ เป็น 3 ชนิดคือ 1. แบบทดสอบวัด สัมฤทธิผลการเรียน 2. แบบทดสอบวัดความ ถนัดและสติปัญญา 3. แบบทดสอบวัด บุคลิกภาพ 3.1 แบบทดสอบวัดทัศนคติ 3.2 แบบทดสอบวัดความ สนใจ 3.3 แบบทดสอบวัดการ ปรับตัว

ลักษณะของแบบทดสอบ ที่ดี ควรมีคุณสมบัติ 10 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ความเที่ยง 6. ความ ยุติธรรม 2. ความตรง 7. ความลึกซึ้ง 3. อำนาจจำแนก 8. คำตอบ เฉพาะเจาะจง 4. ความยาก 9. กระตุ้นให้คิด 5. ประสิทธิภาพการใช้ 10. ความเป็นปรนัย

ข้อสอบแบบเลือก คำตอบ จะประกอบด้วย :- 1. คำถาม หรือโจทย์ 2. ตัวเลือก ซึ่งรวมทั้งตัว ถูกและตัวผิด

หลักการเขียนคำถาม หรือโจทย์ 1. ใช้ประโยชน์คำถาม 2. เน้นจุดที่จะถามให้ ชัดเจน 3. ถามให้ตรงเนื้อหาที่ ต้องการ 4. ถามในสิ่งที่ดีหรือเป็น ประโยชน์ 5. ถามในสิ่งที่หาข้อยุติ ได้ตามหลักวิชา

ต่อ 6. ถามให้ใช้ความคิด 7. ใช้ภาษากระชับ รัดกุม ไม่ฟุ่มเฟือย 8. ใช้ภาษาเหมาะกับผู้ตอบ 9. เลี่ยงคำถามปฏิเสธ 10. ใช้คำถามที่ยั่วยุชวนให้ คิด

หลักการเขียนตัวเลือก 1. ตัวเลือกมีความเป็น เอกพันธ์ 1.1 เรื่องราวเดียวกัน 1.2 ทิศทางเดียวกัน 1.3 โครงสร้างสอดคล้อง กัน 2. ตัวเลือกมีความ เป็นไปได้ 3. ตัวเลือกเป็นอิสระ จากกัน

ต่อ 4. ใช้ภาษารัดกุม ชัดเจน 5. เรียงลำดับตัวเลือกให้ เหมาะสม 6. ใช้ตัวเลือกที่ผู้ตอบรู้จัก และเข้าใจ

ต่อ 7. หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 7.1 คำถามข้อแรกๆ แนะ คำตอบข้อหลัง 7.2 ตัวถูกมีคำซ้ำกับคำถาม 7.3 คำขยายไม่เหมาะสม 7.4 เรื่องที่ผู้ตอบเคยชิน เกินไป 7.5 ความยาวต่างกันมาก 7.6 กระจายตำแหน่งตัวถูก 8. หลีกเลี่ยงตัวเลือกแบบปิด หรือแบบเปิด

ส่วนประกอบของ แบบทดสอบ 1. คำชี้แจง 1.1 รายละเอียดเกี่ยวกับ แบบทดสอบ 1.2 วิธีการตอบ 1.3 ข้อปฏิเสธในการสอบ 1.4 ข้อคำถาม 2. ข้อคำถาม 4. ส่วนของคำตอบ

ค่าความเที่ยง แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 1. การสอบซ้ำ หาค่าสหสัมพันธ์ของ คะแนนที่ได้ 2 ชุด 2. การสอบครั้งเดียว r tt = k 1- x ( k – x ) k-1 s t 2