แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ เช่น พูด เขียน หรือท่าทาง เป็นต้น
แบบทดสอบ อาจแบ่งได้ เป็น 3 ชนิดคือ 1. แบบทดสอบวัด สัมฤทธิผลการเรียน 2. แบบทดสอบวัดความ ถนัดและสติปัญญา 3. แบบทดสอบวัด บุคลิกภาพ 3.1 แบบทดสอบวัดทัศนคติ 3.2 แบบทดสอบวัดความ สนใจ 3.3 แบบทดสอบวัดการ ปรับตัว
ลักษณะของแบบทดสอบ ที่ดี ควรมีคุณสมบัติ 10 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ความเที่ยง 6. ความ ยุติธรรม 2. ความตรง 7. ความลึกซึ้ง 3. อำนาจจำแนก 8. คำตอบ เฉพาะเจาะจง 4. ความยาก 9. กระตุ้นให้คิด 5. ประสิทธิภาพการใช้ 10. ความเป็นปรนัย
ข้อสอบแบบเลือก คำตอบ จะประกอบด้วย :- 1. คำถาม หรือโจทย์ 2. ตัวเลือก ซึ่งรวมทั้งตัว ถูกและตัวผิด
หลักการเขียนคำถาม หรือโจทย์ 1. ใช้ประโยชน์คำถาม 2. เน้นจุดที่จะถามให้ ชัดเจน 3. ถามให้ตรงเนื้อหาที่ ต้องการ 4. ถามในสิ่งที่ดีหรือเป็น ประโยชน์ 5. ถามในสิ่งที่หาข้อยุติ ได้ตามหลักวิชา
ต่อ 6. ถามให้ใช้ความคิด 7. ใช้ภาษากระชับ รัดกุม ไม่ฟุ่มเฟือย 8. ใช้ภาษาเหมาะกับผู้ตอบ 9. เลี่ยงคำถามปฏิเสธ 10. ใช้คำถามที่ยั่วยุชวนให้ คิด
หลักการเขียนตัวเลือก 1. ตัวเลือกมีความเป็น เอกพันธ์ 1.1 เรื่องราวเดียวกัน 1.2 ทิศทางเดียวกัน 1.3 โครงสร้างสอดคล้อง กัน 2. ตัวเลือกมีความ เป็นไปได้ 3. ตัวเลือกเป็นอิสระ จากกัน
ต่อ 4. ใช้ภาษารัดกุม ชัดเจน 5. เรียงลำดับตัวเลือกให้ เหมาะสม 6. ใช้ตัวเลือกที่ผู้ตอบรู้จัก และเข้าใจ
ต่อ 7. หลีกเลี่ยงการแนะคำตอบ 7.1 คำถามข้อแรกๆ แนะ คำตอบข้อหลัง 7.2 ตัวถูกมีคำซ้ำกับคำถาม 7.3 คำขยายไม่เหมาะสม 7.4 เรื่องที่ผู้ตอบเคยชิน เกินไป 7.5 ความยาวต่างกันมาก 7.6 กระจายตำแหน่งตัวถูก 8. หลีกเลี่ยงตัวเลือกแบบปิด หรือแบบเปิด
ส่วนประกอบของ แบบทดสอบ 1. คำชี้แจง 1.1 รายละเอียดเกี่ยวกับ แบบทดสอบ 1.2 วิธีการตอบ 1.3 ข้อปฏิเสธในการสอบ 1.4 ข้อคำถาม 2. ข้อคำถาม 4. ส่วนของคำตอบ
ค่าความเที่ยง แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 1. การสอบซ้ำ หาค่าสหสัมพันธ์ของ คะแนนที่ได้ 2 ชุด 2. การสอบครั้งเดียว r tt = k 1- x ( k – x ) k-1 s t 2