Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท เทปชนิดม้วน (Reel Tape) บันทึกซ้ำได้ เทปคาร์ทริดจ์ (Cartridge Tape) ลักษณะ แถบทำด้วยพลาสติก ด้านหนึ่งเคลือบด้วยสารแม่เหล็ก กว้าง 0.5 นิ้ว ยาว 2400-3600 ฟุต ความหนาแน่น 800, 1000,1600,3200,6250 cpi
เทปแม่เหล็กชนิดม้วน
Tape Read/Write heads
เครื่องแถบแม่เหล็ก
เครื่องแถบแม่เหล็ก
เครื่องแถบแม่เหล็ก
เทปคาร์ทริดจ์
เทปแม่เหล็ก แบ่งเป็นแถว เรียกว่า track และ column แบ่งเป็น 2 ชนิด 7 track 9 track
การแทนค่าข้อมูลในเทปแม่เหล็ก Parity Check Bit - Odd , Even การเก็บข้อมูลบนแถบเทป
แถบแม่เหล็ก (7 bits)
เทปแม่เหล็ก
Diagram of a Tape Reel
วิธีการเก็บระเบียนในเทป ความยาวต่อระเบียนคงที่ (Fixed Length Records) ความยาวต่อระเบียนไม่คงที่ (Variable Length Records)
Magnetic Tape ความจุของเทปหรือความหนาแน่น - Tape Density คือ ปริมาณข้อมูลที่สามารถบันทึกได้ในความยาวหนึ่งหน่วย (bytes per inch : bpi, character per inch :cpi) Inter Record Gap (IRG) , Inter Block Gap (IBG) Tape Length = gap length + data length Tape Speed
การบันทึกข้อมูลแบบทีละ record IRG Record2 Record3 Record4 ความจุข้อมูลของเนื้อเทปจะน้อย
การบันทึกข้อมูลแบบ Block มี 2 แบบ Single Record Block - 1 block 1 Record Multiple Records Block - 1 block หลายๆRecord Blocking Factor - จำนวน Record ใน 1 block
ข้อดีของการใช้เทปแม่เหล็ก ไม่จำกัดความยาวของระเบียน เก็บข้อมูลแต่ละรายการด้วยความยาวที่ไม่คงที่ได้ ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เคลื่อนย้ายสะดวก ระวังรักษาง่าย ราคาต่อหน่วยถูก บันทึกข้อมูลซ้ำได้ บันทึกข้อมูลได้มาก ความเร็วในการถ่ายทอดข้อมูลสูง ลบ แก้ไขข้อมูลได้ เป็นแฟ้มข้อมูลสำรอง (Backup File)
ข้อจำกัดในการใช้เทปแม่เหล็ก ต้องใช้เครื่องในการอ่านข้อมูล ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง ประมวลผลได้เฉพาะแบบลำดับ สภาพแวดล้อมมีผลต่อข้อมูล สถานที่เก็บต้องเหมาะสม ระวังเรื่องฝุ่น อุณหภูมิ และสนามแม่เหล็ก เข้าถึงข้อมูลได้ครั้งละ 1 คน ต้องระวังในการจับถือ (สิ่งสกปรก รอยนิ้วมือ และการชำรุดแตกหัก) ต้องระวังการลบข้อมูลผิดพลาด การเขียนโปรแกรมควบคุมเทปยุ่งยาก
งานที่เหมาะกับเทปแม่เหล็ก งานที่มีข้อมูลปริมาณมาก ใช้เป็นสื่อในการเก็บข้อมูลสำรอง (Back Up) เป็นงานที่ไม่ต้องเร่งรีบ มีช่วงเวลาการทำงานที่ตายตัวแน่นอน