เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
Advertisements

ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
จัดทำโดย นาย รังสรรค์ บุญทัน คณะเกษตร
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ น้อยเจริญ
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Repubic of Singapore)
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (The Republic of Singapore)
สิงคโปร์.
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปยุโรป.
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การแบ่งภูมิภาคของทวีปยุโรป
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
ASEAN ASSOCIATION MALAYSIA.
ปัจจุบันประเทศอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดังนี้
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
เพื่อนบ้านอาเซียน ประเทศพม่า
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
ประเทศสิงคโปร์ Singapore
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
ธงชาติ ตรา แผ่นดิน ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia) ที่ตั้ง : ตั้งอยูในเขตเสนศูนยสูตร ประกอบดวยดินแดนสองสวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น - สวนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก.
สภาพสังคมและวัฒนธรรมของสิงคโปร
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
เกาะสวาดหาดสรรค์มัล ดีฟส์ จัดทำโดย นางสาว ปิยะมาศ อ้นมา คณะโลจิสติกส์
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
ประเทศสิงคโปร์.
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
KOREA.
Next to. HomeNext to ไอร์แลนด์ ( ภาษาไอริช Éire) ชื่ออย่างเป็น ทางการของประเทศนี้คือสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ( อังกฤษ : Republic of Ireland)( ภาษาไอริช โพบลัคท์
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
สมาชิกในอาเซียน.
ประเทศมาเลียเชีย 10 ประเทศอาซียน
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ASEAN ASSOCIATION THAILAND ราชอาณาจักรไทย Kingdom of Thailand ที่ตั้ง : ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีพรมแดนทางทิศ ตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศ.
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
ประเทศฟิลิปปินส์ จัดทำโดย ด.ญ.ธนัชชา เลือดไทย เลขที่ 40 ชั้น ม.2/12
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12

สาธารณรัฐ สิงคโปร์ (Republic of Singapore)

ธงประจำ ชาติ ตรา แผ่นดิน

เป็นนครรัฐ ที่ตั้งอยู่บน เกาะในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ที่ละติจูด 1°17'35" เหนือ ลองจิจูด 103°51'20" ตะวันออก ตั้งอยู่ทางใต้ สุดของคาบสมุทร มาเลย์ อยู่ทางใต้ของ รัฐยะโฮร์ของประเทศ มาเลเซีย และอยู่ทาง เหนือของเกาะรีเยาของ ประเทศอินโดนีเซีย ประกอบด้วยเกาะ สิงคโปร์และเกาะใหญ่ น้อยบริเวณใกล้เคียง 63 เกาะ มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 697 ตารางกิโลเมตร ( ประมาณเกาะภูเก็ต ) เกาะสิงคโปร์เป็นเกาะที่มี ขนาดใหญ่ที่สุดมีความ ยาวจากทิศตะวันตกไป ตะวันออก ประมาณ 42 กิโลเมตร และความกว้าง จากทิศเหนือไปยังทิศใต้ ประมาณ 23 กิโลเมตร

ประชากร : 4.35 ล้านคน ( พ. ศ.2548) ประกอบด้วยชาวจีน 76.5% ชาวมาเลย์ 13.8% ชาวอินเดีย 8.1% และอื่น ๆ 1.6% ภูมิอากาศ : ร้อนชื้น มีฝนตก ตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 26.8 องศาเซลเซียส ภาษา : ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ ( ภาษาประจำชาติ ) จีนกลาง ( แมนดาริน ) ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร์ส่งเสริมให้ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่องานและใน ชีวิตประจำวัน ศาสนา : พุทธ 42.5% อิสลาม 14.9% คริสต์ 14.5% ฮินดู 4% ไม่นับถือศาสนา 25% สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore Dollar : SGD) อัตราแลกเปลี่ยน ( ซื้อ ) 23 บาท / 1 ดอลลาร์ สิงคโปร์ ( ขาย ) 23.5 บาท / 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ ( มกราคม 2552)

ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐ ( ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดียว ) โดยมี ประธานาธิบดีเป็นประมุข และนายกรัฐมนตรีเป็น หัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี คือ นายเอส อาร์ นาธาน (S R Nathan) ( ดำรงตำแหน่งสองสมัย ตั้งแต่ 1 กันยายน 2542) นายกรัฐมนตรี คือ นายลี เซียน ลุง (Lee Hsien Loong) (12 สิงหาคม 2547)

ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ สิงคโปร์เป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก ตั้งอยู่บริเวณละติจูด 1 ํ 17' 35'' เหนือ และลองติจูด 103 ํ 51' 20'' ตะวัน ออก ทิศเหนือจรดช่อง แคบยะโฮร์ เหนือขึ้นไปคือมาเลเซีย ทิศตะวันออกจรดทะเลจีน ใต้ ทิศตะวันตกและทิศใต้จรดช่องแคบมะละกา ไกลออกไป คืออินโดนีเซีย สิงคโปร์อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันออก เฉียงใต้ประมาณ 1,380 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางโดยเครื่องบิน ราว 2 ชั่วโมง สิงคโปร์ มีพื้นที่รวม ตารางกิโลเมตร ซึ่งเทียบเท่ากับภูเก็ต ของไทย ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์ และเกาะใหญ่น้อยบริเวณราย รอบ รวม 63 เกาะ เกาะใหญ่ที่สุด คือ เกาะ SINGAPORE มี ระยะทางจากทิศตะวันตกถึงตะวันออกประมาณ 42 กิโลเมตร และ ทิศเหนือถึงทิศใต้ประมาณ 23 กิโลเมตร รองลงมา ได้แก่ เกาะ JURONG เกาะ PULAU-TEKONG เกาะ PULAU-UBIN และ เกาะ SENTOSA

ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (NORTH-EAST MONSOON SEASON) ระหว่างเดือนธันวาคม - กุมภาพันธ์ เป็นช่วงอากาศหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 23 ํ - 26 ํ เซลเซียส โดย อากาศจะเย็นที่สุดในเดือนธันวาคม มีอุณหภูมิต่ำสุด ประมาณ 20 ํ เซลเซียส ช่วงเดือนมกราคมถึง กุมภาพันธ์จะมีฝนหนักและลมแรงจากอิทธิพลของ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

ฤดูก่อนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (PRE SOUTH-WEST MONSOON) ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม เป็นช่วง อากาศร้อน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 31 ํ - 34 ํ เซลเซียส อากาศจะร้อนที่สุดในเดือน พฤษภาคม มีอุณหภูมิสูงสุดราว 36 ํ เซลเซียส

ฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (SOUTH-WEST MONSOON SEASON) ระหว่างเดือนมิถุนายน - กันยายน มีฝนตกหนัก และลมแรงจากอิทธิพลของมรสุมตะวันตก เฉียงใต้. ฤดูก่อนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (Pre North-east Monsoon) ระหว่างเดือนตุลาคม - ธันวาคม เป็นช่วงที่มี อากาศอบอุ่น และไม่มีฝนมากนัก