ไมโครโปรเซสเซอร์ในยุคปัจจุบันและในอนาคต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

Synchronous DRAM (SDRAM) SDRAM นี้ จะต่างจาก DRAM เดิม ตรงที่มันจะทำงานสอดคล้องกับสัญญาณนาฬิกา โดยมีช่วงเวลาในการเข้าถึงข้อมูล ตามที่เราๆมักจะได้เห็นบน.
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM) AND Extended-Data Output (EDO) DRAM
Device for single – phase ac parameter measurement
การทำสายสำหรับระบบเครือข่าย
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ส่วนประกอบของเครื่อง PC
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
Central Processing Unit
เอกสารฉบับนี้ได้มาจากอินเทอร์เน็ต chandra. ac
NoteBook.
COMPUTER.
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
Memory Internal Memory and External Memory
หน่วยความจำเสมือน Virtual Memory.
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ระบบกลไก.
เมคาทรอนิกส์ MECHATRONICS.
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส
Introduction to Cache Memory Systems
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
คนประสบความสำเร็จมีวิธีคิด 7 ขั้นตอน
บทที 1 เริ่มต้น Windows XP
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
Information Technology I
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
Operating System.
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data
วิวัฒนการของคอมพิวเตอร์
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
การ์ดแสดงผลและจอภาพ.
Interrupt.
งานนำเสนอ เรื่อง คอมพิวเตอร์ยุคที่ สาม (T HIRD G ENERATION : ) เสนอ อาจารย์ อภิศักดิ์ พัฒน จักร จัดทำโดย กลุ่มที่ 3 SC-ICT SEC.1 นายจีรพัฒน์ อุมัษเฐียร.
ยุคของคอมพิวเตอร์.
Cache.
… Cache …L1,L2.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เริ่มจากอดีต ตั้งแต่ยุคสมัยเริ่มต้น ของการใช้ PC มีการนำเอาสแตติกแรมมา ใช้ แต่ขนาดของ RAM ในขณะนั้นมีเพียง 8-16 กิโลไบต์ ซึ่งต้องใช้พื้นที่บอร์ด ขนาดใหญ่
Intel 8008,8080,8086,8087.
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
ชิ้นที่ 2 นางสาวจรรยา พุฒเจริญ คอมฯถูกใช้ในการออกแบบ สถานการณ์หรือปัญหาที่ ซับซ้อนต่างๆ.
คณะผู้จัดทำ นายณัฐเชษฐ์ ชิณวงศ์ นางสาวตวงพร ตั้งกิจเจริญพงษ์ นางสาวเทวิกาจันทอง
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ตริตราภรณ์ วงค์กิติ เลขที่ 14 ด. ญ. ปิยกานต์ กุนราชา เลขที่ 19.
เรื่อง การออกแบบรถยนต์
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
สถาปัตยกรรม AMD K10.
FPM DRAM ( Fast Page Mode DRAM ) เป็น แรมรุ่นเก่าแก่ใช้เทคโนโลยีที่ผลิตมานานหลาย ปี พบได้ในเครื่อง 286 มีโมดูลแบบ SIMM ขนาด 30 ขา และ 72 ขา ใช้กับเครื่องรุ่นเก่า.
ชิ้นงานที่ 2 สุภาลัย หมายถมกลาง คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือ ปัญหาซับซ้อนต่างๆ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไมโครโปรเซสเซอร์ในยุคปัจจุบันและในอนาคต ภารุจ รัตนวรพันธุ์

จำนวนทรานซิสเตอร์บนชิปวงจรรวมเพิ่มเป็นสองเท่าทุกๆ 2 ปี Moore’s Law จำนวนทรานซิสเตอร์บนชิปวงจรรวมเพิ่มเป็นสองเท่าทุกๆ 2 ปี “Cramming More Components onto Integrated Circuits” Gordon Moore, Electronics, 1965

30 ปีในวงการสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ เก็บเกี่ยวผลประโยชน์จาก Moore’s Law อย่างเต็มที่เพื่อเพิ่มความเร็วของโปรเซสเซอร์ ใช้ทรานซิสเตอร์ในการสร้างไมโครโปรเซสเซอร์ที่มีความซับซ้อนแต่ประสิทธิภาพสูง เพิ่มความเร็วของสัญญาณนาฬิกา (ความเร็วของโปรเซสเซอร์เพิ่มเป็นสองเท่าๆทุกๆ 1.5 ปี) โปรแกรมหลายๆอันทำงานได้เร็วขึ้นโดยที่โปรแกรมเมอร์เพียงรอเวลาให้โปรเซสเซอร์รุ่นใหม่ๆออกมา Moore’s Law มีทีท่าว่าจะคงต่อไป แต่การเก็บเกี่ยวผลประโยชน์จาก Moore’s Law ด้วยวิธีเดิมๆที่เราทำกันมาจะทำไม่ได้อีก

(คำกล่าวของ Dave Patterson) 3 กำแพงกั้น Memory Wall เราได้พูดกันไปแล้วถึงช่องว่างระหว่างความเร็วของโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำ แก้โดยเพิ่ม cache ถ้า working set โปรแกรมอยู่ใน cache ได้จะเร็วมาก แต่โปรแกรมเมอร์ต้องทำให้โปรแกรม cache-friendly ILP Wall (Instruction-Level Parallelism) Power Wall Memory + ILP + Power Wall = Brick Wall (คำกล่าวของ Dave Patterson)

Matrix Multiplication /* ijk */ for (i=0; i<n; i++) { for (j=0; j<n; j++) { sum = 0.0; for (k=0; k<n; k++) sum += a[i][k] * b[k][j]; c[i][j] = sum; } /* kij */ for (k=0; k<n; k++) { for (i=0; i<n; i++) { r = a[i][k]; for (j=0; j<n; j++) c[i][j] += r * b[k][j]; } Not So Cache-Friendly More Cache-Friendly

Blocked Matrix Multiplication c = (double *) calloc(sizeof(double), n*n); /* Multiply n x n matrices a and b */ void mmm(double *a, double *b, double *c, int n) { int i, j, k; for (i = 0; i < n; i+=B) for (j = 0; j < n; j+=B) for (k = 0; k < n; k+=B) /* B x B mini matrix multiplications */ for (i1 = i; i1 < i+B; i1++) for (j1 = j; j1 < j+B; j1++) for (k1 = k; k1 < k+B; k1++) c[i1*n+j1] += a[i1*n + k1]*b[k1*n + j1]; }

แนวโน้มของสมรรถนะของไมโครโปรเซสเซอร์

เทคนิคที่ใช้เพิ่มความเร็วของโปรเซสเซอร์ เพิ่ม functional units และใช้เทคนิค out-of-order execution ตัวโปรแกรมที่รันมี ILP ระดับนึง เมื่อถึงจุดนึงก็ต้องทำงานแบบอนุกรม ปัจจุบันนี้เชื่อกันว่าเราได้บีบจนหยดสุดท้ายของ ILP แล้ว เพิ่ม pipeline stages ทำให้เพิ่มความถี่ clock ได้สูงขึ้น เพิ่ม penalty เวลา branch mispredict เพิ่ม penalty เวลา cache miss โปรเซสเซอร์ปัจจุบันมีประมาณ 9-11 stages

ความถี่ของสัญญาณนาฬิกา กราฟแสดงการเพิ่มของความถี่สัญญาณนาฬิกาในช่วง 3 ทศวรรษที่ผ่านมา แต่ก่อน ความถี่สัญญาณนาฬิกาเพิ่ม 2 เท่าทุกๆ 1.5 ปี ปัจจุบัน ทำไม่ได้อย่างแต่ก่อนเพราะปัญหาเรื่องการระบายความร้อน

กระแสรั่วไหล (Leakage Current) 15 Very High Leakage and Power Static Current Fast, High Power Embedded Parts Fast, Low Power Frequency 1.0 1.5 กระแสรั่วไหลเพิ่มแบบไม่เป็นเส้นตรงกับความถี่สัญญาณนาฬิกา

Power Density Rocket Nozzle Nuclear Reactor Hot Plate 10000 1000 100 Power Density (W/cm2) Pentium III ® 8086 Hot Plate Pentium II ® 10 4004 8008 8085 Pentium® 386 286 486 8080 Source: Patrick Gelsinger, Intel 1 1970 1980 1990 2000 2010 Year

ถ้าพังกำแพงไม่ได้ก็ปีนกำแพงข้ามไป เพิ่มจำนวนโปรเซสเซอร์ในหนึ่งชิป ไม่ต้องเพิ่มความถี่สัญญาณนาฬิกา ไม่ต้องใช้เทคนิคเพิ่มความเร็วแบบใหม่ๆ ผลักภาระกลับไปให้โปรแกรมเมอร์ ต้องเพิ่มสมรรถนะด้วยตัวโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา (from Saman Amarasinghe, MIT)