Synthetic ------------------------------------ Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
Advertisements

สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การศึกษาชีววิทยา.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การศึกษาชีววิทยา หน้าถัดไป.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Experimental Research
รูปแบบการวิจัย Research Design
การวางแผนและการดำเนินงาน
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
The Career Within You. The Career Within You เหตุผลในการเลือกงานของแต่ละคน ตามรอยครอบครัว ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ตนเคารพ ได้รับคำแนะนำจากคนที่หวังดีและให้เราประสบความสำเร็จ.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงคุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 8 File Management. ประเด็นที่ต้องพิจารณา ถ้าต้องการเก็บข้อมูลจะเก็บข้อมูลไว้ที่ไหน สามารถเก็บข้อมูลตรงไปยัง media โดยไม่ต้อง จัดรูปแบบการเก็บได้หรือไม่
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยจากทฤษฎีและ งานวิจัยที่ผ่านมา. ทฤษฎีคืออะไร ?
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กระบวนการวิจัย Process of Research
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สมมติฐาน ตัวแปร.
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
คำอธิบายรายวิชา.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
“คำพูดคุณครู”.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ระดับของการศึกษาตัวแปร
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
CLASSROOM ACTION RESEARCH
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Synthetic ------------------------------------ Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ ไม่รู้อะไรเลย และที่มาของปัญหา เช่น ปัจจัยที่ทำ บางอย่าง แล้วค่อยๆ บีบหรือย่อยลงมาให้เหลือ เด็กเรียนเก่ง ซึ่งเราอาจจะสังเกตปัญหาได้มาก) เพียงไม่กี่ปัจจัย เช่น ปัจจัยที่ทำให้คนเรียนเก่ง คือ อ่านมากๆ กับเขียนมากๆ เป็นต้น Heuristic ------------------------------------ Deductive (การลองผิดลองถูก) (การลดตัวแปรลงมาให้เหลือน้อยๆ) เป็น QUAL คือ เป็นการเริ่มสังเกตุปัญหา เป็น QUAN คือ เราบีบสาเหตุเหลือเพียงว่า โดยที่เราไม่รู้อะไรเลย มันจะสัมพันธ์กับ สิ่งที่ทำให้คนเรียนเก่ง คือ ต้องอ่านบ่อยๆ ซึ่งจะ Synthetic สัมพันธ์กับ Analytic

Synthetic ------------------------------------------ Analytic Heuristic --------------------------------------- Deductive Qualitative ----------- Mixed ----------- Quantitative Method Qualitative -------- Descriptive -------- Experimental Approach Objective

I. Quantitative Validity 1.1 Research Validity A) Internal B) External 1.2 Measurement Validity Reliability Main threat of Research Validity II. Qualitative Three basic quality concerns in QUAL III. Mixed-Method

I. Quantitative Research Validity 1.1 Research Validity A) Internal Validity = การนำตัวแปรที่มาใช้ในการหาความสัมพันธ์ เช่น การอ่านหนังสือ จะทำให้คนเรียน เก่ง จะต้องนำมใช้อย่างสมเหตุสมผลในการทำ QUAN ถ้าบางคนบอกว่าหน้าตาดี นิสัยดีจะทำให้คนเรียน เก่ง ถือว่าไม่สมเหตุสมผล และการหา Factor measured จะต้องสมเหตุสมผลด้วย อย่างเช่น การอ่าน หนังสือ การขยันเรียน (Independent Variable) จะทำให้คนนิสัยดี (Dependent Variable) อย่างนี้ถือว่า ไม่สมเหตุสมผล เพราะการอ่านหนังสือ การขยันเรียน น่าจะทำให้คนเรียนเก่งมากกว่า (Dependent Variable) B) External Validity = ผลรับที่ได้ออกมาจากการทำวิจัยควรจะต้อง Generalizability results คือ ผลวิจัยจะต้องเอาไปใช้ได้กับคนที่เราจะศึกษาทั้งหมด เช่น ถ้าเราต้องการจะศึกษา ว่าปัจจัยใดที่ทำให้นักศึกษาธรรมศาสตร์เรียนเก่ง ผลวิจัยที่ออกมาควรจะต้องนำไปใช้ได้กับนักศึกษา ธรรมศาสตร์ทุกคณะ ไม่ใช่แค่บางคณะ ขั้นตอนนี้จะอยู่ที่การเรียนกลุ่มตัวอย่าง (Sampling) 1.2 Measurement Validity ความเหมาะสมและความหมายของการแปรผลข้อมูลต้องมีเหตุผล ในขั้นนี้จะดูในเรื่องการใช้เครื่องมือ และการแปรผลในการทำวิจัย จะต้องมีเหตุผล - Validity คือ คุณภาพในการแปรผลวิจัย ไม่มีการให้คะแนน ไม่เคยมีการพิสูจน์ว่าอันไหนดีที่สุด และใช้ได้ เฉพาะเรื่องหรือเฉพาะสถานการ์ โดยต้องมีหลักฐานสนับสนุน ไม่สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์อื่นได้

2) Reliability ข้อมูลที่จะทำวิจัย ผลวิจัยที่ออกมา และวิธีการวิจัย จะต้องมีความน่าเชื่อถือ เช่น ถ้าเรานำตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ที่ไม่สัมพันธ์กันมาทำการวิจัย (ความขยัน หน้าตา นิสัย จะทำให้คนเรียนเก่ง) จะถือว่า ข้อมูลนี้ไม่น่าเชื่อถือ ซึ่งในการทำ QUAN Research จะมีการคำนวนเพื่อหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระด้วยกันเอง (Internal Consistency Coefficient) 3) Main threat of Research Validity การลดขนาดกลุ่มตัวอย่างลง (Sample size) จะทำให้ข้อมูลน่าเชื่อถือน้อยลง (กลุ่มตัวอย่างยิ่งมากยิ่งดี) ถ้ากลุ่มตัวอย่างรู้ตัวว่ากำลังโดนทำวิจัยอยู่ อาจจะมีผลทำให้การตอบแบบสอบถามหรือการแสดงออกเปลี่ยนไป เช่น ถ้าคนงานในโรงงานรู้ว่ากำลังโดนสังเกตการณ์ อาจจะขยันทำงานเป็นพิเศษ ถ้าคนที่เคยตอบแบบสอบถามบ่อยๆ หรือตอบเรื่องเดิมๆบ่อยๆ จะทำให้ผลการวิจัยออกมาดีขึ้นๆ การที่คนเรามีอายุมากขึ้น สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไป เช่น เงินเดือนสูง อายุมากขึ้น มีประสบการณ์มากขึ้น ก็จะทำให้การ ตอบแบบสอบถามเปลี่ยนไป ผู้ตอบแบบสอบถามบางคนพยายามทำตัวให้ meet expected results เช่น ถ้าเราตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ จิตวิทยาในห้องเรียน เราจะพยายามทำตัวเป็นคนดี มีคุณธรรม มีทัศนคติที่ดี ไม่เคยมาสาย ไม่เคยโดดเรียน เป็นต้น 6) อาจจะมีเหตุการบางเหตุการณ์เกิดขึ้นในช่วงการทำวิจัย ซึ่งมีผลทำให้การวิจัย Valid เช่น ในวันทำวิจัยฝนตก หรือผู้ถูกวิจัยโดนหัวหน้าด่ามา ซึ่งจะส่งผลต่อผลวิจัยด้วย

II. Qualitative Three basic quality concerns in QUAL 1.1 ข้อมูลที่จะศึกษาต้องน่าสนใจพอ ไม่ใช่เป็นเรื่องเล็กๆที่เราสนใจเพียงคนเดียว 1.2 คุณภาพของ Researcher จะต้องดีพอทั้งเรื่องการเก็บข้อมูล การ conduct การวิจัย การแปรผล การบันทึกข้อมูล และ Term of reference 1.3 อย่านำเรื่องเล็กๆ หรือจุดเล็กๆ ที่ได้จากการทำวิจัย มาเป็นประเด็นหลักในการแปรผลข้อมูลหรือเขียนรายงาน Reliability ความน่าเชื่อถือของงานวิจัยแบบ qualitative คือ ไม่ว่าจะทำการวิจัยซ้ำกันกี่ครั้ง ผลวิจัยที่ได้ออกมาควรเหมือน เดิม หรือไม่แตกต่างจากเดิน Validity 3.1 Descriptive validity (สำคัญที่สุด) = การแปรผลข้อมูลจะต้องมีถูกต้องและมีมาตราฐาน เพื่อเป็นการป้องกันการผิดพลาด อาจจะทำโดยนำคนหลายๆคน มาเก็บข้อมูลและแปรผล เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่เกิดจากคนๆเดียวทำ 3.2 Interpretive validity = คุณภาพในการพรรณาทัศนวิสัยหรือมุมมองของผู้ถูกสัมภาษณ์ การป้องกันก็คือ อาจจะมีการขอคำแนะนำหลังการสัมภาษณ์ 3.3 Theoretical validity = การนำทฤษฎีมาใช้ในการมาใช้ได้อย่างเหมาะสมในการแปรข้อมูล

II. Qualitative 3.4 Generalizability = ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ในวงกว้างได้ A) Internal = ใช้ในกลุ่มหรือในองค์กรของเราเอง B) External = ใช้นอกกลุ่มหรือต่างองค์กร 3.5 Evaluative validity = งานวิจัยจะต้องสามารถประเมินได้ทั้งในสิ่งที่มองเห็นและมองไม่เห็น เช่น เรื่องคุณธรรม และจริยธรรมในการทำงานวิจัย เป็นต้น

III. Mixed-Method การวิจัยประเภทนี้จะต้อง More Comprehensive Study กว่าการทำด้วย QUAN หรือ QUAL เพียงอย่างเดียว (ที่เหลือก็ไปอธิบายต่อเองนะคับ >>>>>>)