Q Fever. Holly Deyo, URL:

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
Advertisements

วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
โรคปากและเท้าเปื่อย (Foot and Mouth Disease)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
หลักสำคัญในการล้างมือ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
I. โรคผิวหนัง 1.1. เกิดจากปาราสิตภายนอก เช่น
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
สารเมลามีน.
เรื่อง การติดเชื้อรา Aspergillosis เนื่องจากเชื้อ Aspergillus
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โรคอุจจาระร่วง.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การล้างมือ (hand washing)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
Scrub typhus.
โครงการพัฒนาคุณภาพน้ำนมดิบ กลุ่มเกษตรกรรายย่อยบ้านห้วยเตย จังหวัดขอนแก่น ศวพ.ขอนแก่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Q Fever

Holly Deyo, URL:

 เกิดจากเชื้อ Coxiella burnetii  เชื้อ 1 ตัวสามารถก่อให้เกิดโรค  ไม่สามารถเติบโตนอกโฮสต์ได้  รูปแบบคล้ายสปอร์ ทนความร้อน ความดัน และยาฆ่าเชื้อได้หลาย ชนิด ทำให้ทนสภาวะแวดล้อมได้ดี

อาการ  เป็นไข้ ไอ ปวดอก เกิดใน 10 วัน หลังได้เชื้อ  คนไข้มักไม่ป่วยวิกฤต  การป่วยนาน 2 วันถึง 2 สัปดาห์

การแพร่กระจาย  จากคนสู่คนพบได้ยาก  คนเป็นโรคจากการ หายใจเอา particle ที่มี เชื้อเข้าไป  สัตว์ที่เป็นพาหะที่พบ บ่อยที่สุดคือ แกะ โค และ แพะ ( สัตว์ไม่ป่วย )  เกษตรกรและคนทำงาน ที่โรงฆ่าสัตว์มีความ เสี่ยงสูงสุด

 สัตว์ปล่อยเชื้อในปัสสาวะ อุจจาระ น้ำนม และโดยเฉพาะ birth product  รกอาจมีเชื้อถึง 10 organism ต่อเนื้อเยื่อ 1 กรัม

 ติดได้จากเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนได้ ดังนั้นต้องจัดการเสื้อผ้าเหล่านั้น เสมือน infectious material  เสมหะและปัสสาวะจากคนไข้ต้อง autoclave ก่อนทิ้ง

การวินิจฉัย  อาการของ Q fever ไม่ใช่อาการ เฉพาะ  คล้ายกับการป่วยจากการติดเชื้อ ไวรัสหรือ atypical pneumonia อื่น  การวินิจฉัยทำโดยทางทดสอบทาง ซีรั่มวิทยา

การรักษา  Tetracycline หรือ doxycycline โดยเริ่มให้ภายใน 8-12 วันหลัง สัมผัสเชื้อ และให้ต่อไปนาน 5 วันจะ สามารถป้องกันอาการทางคลินิกได้  การ decontamination ได้โดยการ ใช้สบู่และน้ำ หรือ 0.5% chlorine solution บนตัว

วัคซีน  inactivated whole cell unlicensed vaccine มี ประสิทธิภาพในการป้องกันโรค แต่ พบ local reaction รุนแรงในรายที่มี ภูมิอยู่แล้ว ดังนั้นต้องทำ intradermal skin test เพื่อหาคนที่ pre-sensitized มาก่อน

อัตราการตาย  แม้ว่าจะไม่รักษา คนไข้ส่วนมากก็ หาย  ยกเว้นในรายเป็นโรคเรื้อรังที่หัวใจ อักเสบ ซึ่งอัตราการตายสูงถึง 24% แม้ว่าจะได้รับการรักษาที่เหมาะสม แล้ว

การฆ่าเชื้อ  บริเวณผิวที่จะทำการผ่าตัดหรือห้อง lab.:  น้ำยาซักผ้าขาว 1:100  H2O2 5%  Lysol 1:100

 ถ้ามีการปนเปื้อนมาและไม่สามารถ autoclave ได้ ใช้น้ำยาซักผ้าขาว 1:10 ผสม detergent  พวกเครื่องใช้ในบ้าน :  น้ำยาซักผ้าขาว 1:100  H2O2 5%  Lysol 1:100  Paraformaldehyde fumigation