เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
我的包子 ซาลาเปาของ ฉัน จัดทำโดย กลุ่ม5.
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
อาหารไทย 4 ภาค.
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ใบ Leaf or Leaves.
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
เฟื่องฟ้า ชื่อวิทยาศาสตร์ Bougainville Spp. ชื่อวงศ์ NYCAGINACEAE
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
กระชาย กระชายเป็นพืชผักในวงศ์เดียวกับขิง มีเหง้าหรือโคนลาต้นจมอยู่ใต้ดิน มีรากเรียว ยาวอวบน้ำ และออกเป็นกระจุก ส่วนเหง้าและรากที่มัก เรียกกันว่า หัว จะมีกลิ่นจัดเฉพาะตัวเนื่องจากมีน้ำ.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
หมากเขียว MacAthur Palm
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ฝ่ายโภชนาการ รพ.สกลนคร จากหน่วยไตเทียมรพ.สกลนคร
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
กล้วย.
พืชผักล้านนา จัดทำโดย เด็กชายศิวกร เที่ยงศรี ชั้น ม.1/1 เลขที่ 42 เสนอ
ดอกไม้ รางวัลที่ 1.
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ประเภทของมดน่ารู้.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
ดอกไม้ฤดูหนาว.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
เรื่องทำ Animetion ง่ายๆด้วย Easy toon จัดทำโดย ชื่อ ด. ช. ชนาธิป อร่ามดิลกรัตน์ เลขที่ 10 ชั้น 1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร.
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
งูอันตรายของโลก จัดทำโดย ด.ช.เก่งกาจ บุญมี ชั้นม.1/12 เลขที่17 เสนอ
อาหารประจำชาติอาเซียน
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
ผู้จัดทำ นายเอกพจน์ นรชาติวศิน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จิตต์อารีฯ.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด.ญ.พรรณทิพย์ ปราบปัญจะ เลขที่ 17 ชั้น ม.1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

สารบัญ 1. หัวหอมใหญ่ 9. กระเทียม 2. หอมเล็ก 10. กระเพรา 1. หัวหอมใหญ่ 9. กระเทียม 2. หอมเล็ก 10. กระเพรา 3. สาระแหน่ 11. กระชาย 4. มะกรูด 12. พริกขี้หนู 5. ตะไคร้ 13.พริกไทย 6. ขิง 7. ข่า 8. ขมิ้นชัน

หัวหอมใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allium cepa L. วงศ์ : Alliaceae ชื่อสามัญ : Onion ชื่ออื่น : หอมฝรั่ง หอมหัวใหญ่ ลักษณะ : ไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีหัวใต้ดินคล้ายหัวหอม รูปรียาว ใบเกร็ดที่หุ้มหัวใต้ดิน สีม่วงแแดง ใบ เดี่ยว ออกเป็นกระจุก 3-4 ใบ รูปดาบ กว้าง 2-4 ซม. ยาว 20-40 ซม. เส้นใบขนาน จีบตามยาวคล้ายพัด ดอก ช่อ แทงจากลำต้นใต้ดิน กลีบดอกสีขาว ผล แห้ง แตกได้ ประโยชน์ : หัวหอมใหญ่ มีวิตามินซีสูง มีน้ำมันหอมระเหย น้ำคั้นจากหัว ช่วยลดโคเลสเตอรอล ลดความดันโลหิต ลดน้ำตาลในเลือด

หอมเล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Allium ascalonicum L. ชื่อพ้อง : A. cepa L. cv.group aggregatum, A. cepa L. var. ascalonicum Backer วงศ์ : Alliaceae ชื่อสามัญ : Shallot ชื่ออื่น : หอม (ทั่วไป) หอมแกง หอมแดง (ภาคกลาง,ภาคใต้) หอมไทย หอมหัว (ภาคกลาง) หอมบัว (ภาคเหนือ) ลักษณะ : เป็นพืชล้มลุก มีลำต้นหรือมีหัวอยู่ใต้ดิน หัวมีลักษณะกลมสีม่วงอมแดง ประกอบด้วยหัวเล็ก ๆ อยู่รวมกันหลายหัว