มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว ขนุน เสนอ อ.ดร.ประทีป อูปแก้ว จัดทำโดย นายเชน จิน รหัสนิสิต 54410661 วิชา หลักการผลิตพืช 764211 มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
หัวข้อนำเสนอ บทนำ พันทธุ์ การปลูก การขยายพันธุ์ขนุน การปฏิบัติดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว
ขนุน
พันธุ์ขนุน ขนุนที่นิยมปลูกกันทั่วไปอยู่มี 2 ประเภท คือ 1. ขนุนหนัง ลักษณะเนื้อยวงแห้งกรอบ สีเหลืองทอง สีจำปา ยวงโตเนื้อแน่นหวานกรอบนิยมปลูกกันโดยทั่วไปขนุนหนังมีอยู่หลายพันธุ์เช่น จำปา ตาบ๊วย ฟ้าถล่ม เป็นต้น 2. ขนุนละมุด ลักษณะเนื้อยวงเปียก เละเหนียว เนื้อค่อนข้างบาง ยวงเล็ก รสหวาน มีกลิ่นหอม ขนุนพันธุ์นี้ ไม่ค่อยนิยมปลูกกันมากนัก อีกพวกหนึ่ง ซึ่งนิยมปลูกกันมากทางภาคใต้ของประเทศไทยคือ จำปาดะ ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายขนุน ผลเล็กยาวเรียว คล้ายผลฟัก เปลือกบาง เนื้อเละ รสหวาน กลิ่นหอม
การปลูก 1. การเตรียมดิน ขนาดของร่องกว้างประมาณ 4-6 เมตร คูน้ำกว้าง 1.5 เมตร 2. การขุดหลุมปลูก ระหว่างหลุมคือ 8 x10 เมตร หรือ l0 x l2 เมตร และให้ขุดหลุมขนาด กว้าง ยาว ลึก 100 X 50 3. วิธีปลูก -การปลูกด้วยเมล็ด -การปลูกด้วยกิ่งทาบ -การปลูกด้วยกิ่งตอน -การปลูกพืชแซม
การขยายพันธุ์ขนุน การใช้เมล็ด การตอนกิ่ง การทาบกิ่ง
การปฏิบัติดูแลรักษา การให้น้ำ การให้ปุ๋ย การจัดการวัชพืช การจัดการแมลงและโรค การตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งผล และ การห่อผล
การเก็บเกี่ยว ขนุนที่ปลูกด้วยกิ่งทาบจะให้ผลประมาณปีที่ 3 – 4 ผลที่ได้รับการผสมเกสรแล้วจะแก่ภายใน 5 เดือน ขนุนจะให้ผลปีละ 2 ครั้ง ครั้งแรกช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ครั้งที่สองเดือนเมษายน – พฤษภาคม ในหนึ่งต้นจะให้ผลได้ประมาณ 40 – 50 ผล (ขนุนอายุ 10 ปีขึ้นไป)
อ้างอิง MINISTRY OF AGRICULTURE, FORESTRY AND FISHERIS. http://www.maff.gov.kh/en/ ศูนย์วิจัยพืชยืนต้นและไม้ผลเมืองร้อน คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร์, http://natres.psu.ac.th/researchcenter/tropicalfruit/agrarian-index.htm กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, http://www.doae.go.th/page/homepage