เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
นางสาว เบญจมาศ ณารัตน์ เสนอ อาจารย์ ไพรศิลป์ ปินทะนา
Chapter5:Sound (เสียง)
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ลำโพง (Loud Speaker).
( wavelength division mux)
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
Liquid Crystal Display (LCD)
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความหมายและชนิดของคลื่น
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
เครื่องถ่ายเอกสาร.
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
v v v v อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
v v v อุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้
เรื่อง การสูญเสียการได้ยิน : กว่าจะรู้ก็สายไปแล้ว
เรื่อง อันตรายของเสียง
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
เทคนิคการนำเสนอ วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม 2554
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
มาตรการประหยัดพลังงาน
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…
หลักการบันทึกเสียง.
1.ความหมายของสื่อการเรียนการสอน/ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
บทที่ 8 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)

เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ทำความรู้จักกับเสียง (Sound) เสียง (Sound) อยู่ในรูปแบบของพลังงาน (Energy) เหมือนกับพลังงานความร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light) ที่สามารถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่นที่ประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียง ความดังของเสียง(เดซิเบล)ชนิดของเสียง 0เสียงที่แผ่วเบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน 30เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด 60เสียงพูดคุยตามปกติ เสียงจักรเย็บผ้า หรือเสียงพิมพ์ดีด 85เสียงตะโกนข้ามเขา หรือพื้นที่โล่งกว้าง เพื่อให้ได้ยินเสียงสะท้อนของตนเองกลับมา

องค์ประกอบของระบบเสียง 90เสียงเครื่องตัดหญ้า เสียงเครื่องจักรในโรงงาน หรือเสียงรถบรรทุก (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 8 ชม.) 100เลื่อยไฟฟ้าหรือเครื่องเจาะที่ใช้ลม : Pneumatic Drill (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 2 ชม.) 115เสียงระเบิดหิน เสียงในร็อคคอนเสิร์ต หรือเสียงแตรรถยนต์ (ไม่ควรได้ยินเกินวันละ 15 นาที) 140เสียงยิงปืน เสียงเครื่องบินเจ็ต ซึ่งเป็นเสียงที่ทำให้ปวดหู และอาจทำให้หูเสื่อมได้ แม้ได้ยินเพียงครั้งเดียวก็ตาม ดังนั้นผู้ที่จำเป็นต้องอยู่กับเสียงในระดับนี้ จะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันหูเสมอ องค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer) ไมโครโฟน (Microphone) ไมโครโฟน (Microphone) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (Sound wave) จากแหล่งกำเนิดเสียง เช่น เสียงพูด เสียงเพลง หรือเสียงดนตรี เป็นต้น

ขั้นตอนการนำเสียงมาใช้งาน ไมโครโฟนชนิดรับสียงแบบสองทิศทาง (Bi Directional Microphone) ไมโครโฟนชนิดนี้สามารถรับเสียงได้เพียง 2 ทิศทาง คือ เสียงที่มาจากด้านหน้า และด้านหลังไมโครโฟน นิยมใช้ในการบันทึกเสียงที่มาจากแหล่งกำเนิด 2 ทิศทางพร้อมกัน เช่น การสนทนาระหว่างบุคคล 2 คนที่นั่งตรงข้ามกัน เประเภทของเสียง ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เสียงแบบมิดี้ และเสียงแบบดิจิตอล โดยมีรายละเอียด ดังนี้ มิดี้ (MIDI: Musical Instrument Digital Interface) มิดี้ (MIDI) คือเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ขั้นตอนการนำเสียงมาใช้งาน ไม่ว่าจะใช้มัลติมีเดียบนระบบ Macintosh หรือ Windowsต้องมั่นใจว่าเมื่อนำเสียงไปใช้กับงานมัลติมีเดียแล้ว จะทำให้งานมีคุณภาพมากขึ้น สรุป เสียง(Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชมได้