บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower)
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
Insect Antennae.
หินแปร (Metamorphic rocks)
รูปร่างและรูปทรง.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
บทที่ 4 สื่อบันทึกข้อมูล
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
Application of Graph Theory
ระบบอนุภาค.
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
มาลัยกลม ความหมายของมาลัยกลม
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
หนอนพยาธิ (Helminth).
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
การจัดการตัวอย่างแมลงและการจำแนกชนิด
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ดอกไอริสจากใยบัว.
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
วิวัฒนาการของ แมลงปอ.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
ใบไม้.
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
หมากเขียว MacAthur Palm
การจำแนกวงศ์ ในอันดับโอโดนาต้าและออร์ทอพเทอร่า
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
การจำแนกวงศ์ในอันดับโคลีออพเทอร่า
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างและการเจริญเติบโตของแมลง
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ขาของแมลง (Insect Legs)
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
ด้วงกว่าง.
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ประเภทของมดน่ารู้.
Welcome to .. Predator’s Section
เห็นชัด ๆ อาทิตย์คู่จันทร์ ชายคู่หญิง ดอกไม้คู่แมลง แม้แต่ร่างกายของตัวเรา แต่ละคน ยังประกอบด้วยชิ้นส่วน ที่เป็นคู่ทั้งนั้น.
ดอกไม้ฤดูหนาว.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Pasture and Forage Crops Glossary
เครื่องดนตรีของประเทศต่างๆ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง สัตว์ ถัดไป.
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Class Polyplacophora.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
บทปฏิบัติการที่ 3 ปากของแมลง (Insect Mouthparts)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae) หนวดของแมลงเป็นระยางค์ที่เคลื่อนไหวได้ มีตำแหน่งอยู่ระหว่างตาหรือใต้ฐานของตา มีลักษณะเป็นปล้องทำหน้าที่รับความรู้สึก หนวดของแมลงประกอบด้วยส่วนต่างๆดังนี้ สเคป (Scape) เป็นปล้องฐานที่ยื่นออกมาจากส่วนหัว มีขนาดยาวกว่าปล้องอื่นๆ เพดดิเซล (Pedicel) เป็นปล้องที่สองถัดจากสเคปขึ้นไป แฟลกเจลลัม (Flagellum) คือปล้องที่เหลือทั้งหมดของหนวด

หนวดของแมลงมีลักษณะ รูปร่างต่างกันไปในแต่ละชนิดของแมลง ความแตกต่างมักพบในส่วนของแฟลกเจลลัม หนวดของแมลงมีแบบต่างๆ ดังนี้ หนวดแบบเส้นด้าย(filiform) ลักษณะยาว เรียว ขนาดปล้องไล่เลี่ยกัน ได้แก่หนวดด้วงเสือ

หนวดแบบเส้นขน(setaceous) ลักษณะยาวเรียวเล็กลงไปทางปลายหนวด ได้แก่ หนวดแมลงปอ เพลี้ยจักจั่น

- หนวดแบบสร้อยลูกปัด(moniliform) มีขนาดกลมเท่ากัน ได้แก่ หนวดปลวก

หนวดแบบฟันเลื่อย(serrate) เป็นรูปสามเหลี่ยมเรียงกันคล้ายฟันเลื่อยได้แก่ หนวดแมลงทับ แมลงกุลา

หนวดแบบกระบอง(clavate) ปล้องส่วนปลายขนาดใหญ่ต่อกัน คล้ายรูปกระบอง ได้แก่ หนวดผีเสื้อกลางวัน

หนวดแบบแบบลูกตุ้ม(capitate) ส่วนปลายขยายใหญ่เป็นปมคล้ายลูกตุ้มได้แก่ หนวดด้วงผลไม้เน่า

หนวดแบบใบไม้(lamellate) ส่วนปลายแบนเป็นแผ่นกว้าง มีแกนติดด้านข้าง ทำ ให้มีลักษณะคล้ายก้านและใบไม้ ได้แก่ หนวดด้วงมะพร้าว

หนวดแบบฟันหวี(pectinate) ด้านข้างยื่นออกมาเป็นซี่คล้ายฟันหวี ได้แก่ หนวด ผีเสื้อยักษ์

หนวดแบบแผ่นใบไผ่(flabellate) ด้านข้างยื่นเรียวยาวคล้ายใบไผ่เรียงซ้อนกัน มีแกนติดอยู่ตรงด้านข้าง ได้แก่ หนวดด้วงสีดา

หนวดแบบข้อศอก(geniculate) ปล้องสเคปยาวกว่าปล้องอื่นๆ เพดดิเซลหักเป็นรูปข้อศอก ได้แก่ หนวดมด ผึ้ง แมลงภู่

- หนวดแบบพู่ขนนก(plumose) ทุกปล้องมีขนยาวเป็นพู่รอบๆ ได้แก่ หนวดยุงตัวผู้

หนวดแบบมีขนอะริสตา(aristate) ปล้องสุดท้ายขยายใหญ่มีขน ที่เรียกว่า

- หนวดแบบเคียว(stylate) ปล้องสุดท้ายงองุ้มคล้ายเคียว ได้แก่ หนวดเหลือบ