การเปลี่ยนแปลงตามวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เพราะความเป็นห่วง.
FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
Myasthenia Gravis.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเป็นลมและช็อก.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
การเปลี่ยนแปลงตามวัย ในผู้สูงอายุ อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ พย. ม. ( การพยาบาลผู้สูงอายุ ) กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปลี่ยนแปลงตามวัย ในผู้สูงอายุ อาจารย์มลฤดี โพธิ์พิจารย์ พย.ม. (การพยาบาลผู้สูงอายุ) กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษาสามารถ อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกได้ 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุได้ วางแผนการพยาบาลผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลง ด้านร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพได้

ปัจจัยภายนอก ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ ปัจจัยภายใน สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ประสบการณ์ชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ปัจจัยภายนอก การศึกษา เศรษฐานะและการเกษียณการทำงาน

↓ ต่อมเหงื่อ ↑ ความร้อนใน ร่างกาย ระบบผิวหนัง ↓ ต่อมเหงื่อ ↑ ความร้อนใน ร่างกาย ↓ เส้นเลือดฝอย ↓ อาการแสดง ของการอักเสบ ↓ ต่อมไขมัน ↑ ผิวแห้ง

↓ ความยืดหยุ่น

เหี่ยวย่น ตกกระ จากแสง UV ผมหงอก และบางลง เหี่ยวย่น ตกกระ จากแสง UV

Neuropathological Changes Characteristic of Alzheimer disease Normal AD AP NFT AP = amyloid plaques NFT = neurofibrillary tangles Courtesy of George Grossberg, St Louis University, USA

การเชื่อมโยงของเส้นประสาท การเปลี่ยนแปลงในระบบต่างๆ ระบบประสาท เซลล์ประสาท น้ำหนักสมอง การเชื่อมโยงของเส้นประสาท ขนาดของเส้นประสาท

Dopamine ----> พาร์คินสัน Acetylcholine ----> ขี้ลืม สารต่าง ๆ ในสมอง Dopamine ----> พาร์คินสัน Serotonin ----> ซึมเศร้า Acetylcholine ----> ขี้ลืม

ตื่นง่าย ระยะหลับลึก สั้น ความสามารถในการจำ ลดลง การทรงตัว และการเดินไม่ดี

สารหลังกระจกตาถูกดูดกลับ ระบบตา ปรับสายตาในที่มืดไม่ดี ---> หกล้ม มองใกล้-ไกลไม่ชัด (Presbyopia) --------> สายตาผู้สูงอายุ สร้างน้ำตาน้อยลง ------------> ตาแห้ง สารหลังกระจกตาถูกดูดกลับ ---------> ต้อหิน

จอรับภาพเสื่อม (จอประสาทตา) (> 65 ปี) จุดรับภาพที่ชัดที่สุด -------> ภาพบิดเบี้ยว มัวตรงกลางภาพ

โปรตีนแก้วตาเสื่อมสภาพ ขุ่นมัว โปรตีนแก้วตาเสื่อมสภาพ ขุ่นมัว (Denature of lens protein) --------> ต้อกระจก ตาลึก หนังตาตก ขอบหนังตาม้วนเข้า-ออกได้ง่าย

ระบบการได้ยิน เซลล์ในหูชั้นในลดลง -----> หูตึง(1%) ขี้หู เพิ่มขึ้น ----------> ขี้หูอุดตัน แยกเสียงพูดจากเสียงอื่นๆ ได้ลดลง ------> ใช้เครื่องช่วยฟังไม่ค่อยได้

ระบบกล้ามเนื้อ ↓ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ขาอ่อนแรง > แขน ส่วนต้นอ่อนแรง > ส่วนปลาย -----> ลุกจากเก้าอี้ลำบาก หกล้มง่าย

ระบบกระดูก ↓ มวลกระดูก ↑ กระดูกพรุน ↑ กระดูกหัก (สันหลัง สะโพก ข้อมือ) กระดูกพรุน กระดูกสันหลังยุบ ↓ ส่วนสูง

ระบบหัวใจ / หลอดเลือด ↓ อัตราการเต้นของหัวใจตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนท่า -----> หน้ามืดเป็นลมเมื่อเปลี่ยนท่า ↓ เซลล์ประสาทหัวใจ (เกิดพังผืด) -----> ↑ หัวใจเต้นพลิ้ว

เลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้ายไม่ดี ----> ↑ หัวใจบีบตัว ↓ ปั้มปริมาณเลือดจากหัวใจ ↓ การไหลเวียนเลือด

ระบบหายใจ - เหนื่อยง่าย - ผนังถุงลมบางลง - การแลกเปลี่ยนออกซิเจนไม่สมดุล - เซลล์เยื่อบุประสิทธิภาพลดลง ------> ไอได้ไม่ดี---> ปอดบวม

- ตอบสนองต่อ คาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณมากๆ ลดลง คาร์บอนไดออกไซด์คั่งอยู่นาน ----> กดศูนย์หายใจ

ระบบทางเดินอาหาร สุขภาพช่องปากไม่ดี ↑เหงือกอักเสบ ฟันผุ เยื่อบุปากบาง / ฝ่อ ----> แผล /ติดเชื้อ ↓เซลล์กระเพาะอาหาร ↓ กรด ↑แบคทีเรีย, โลหิตจาง

↓ขนาดของตับ ↓การย่อยสลายยา ↓ เลือดเลี้ยงตับ ↓เซลล์ตับอ่อน ----> อาหารไม่ย่อย ↓ลำไส้ใหญ่บีบตัว----> ท้องผูก ↓เซลล์ต่อมน้ำเหลืองในผนังลำไส้ -----> อักเสบติดเชื้อ มะเร็ง

ระบบปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต พบ 20 % ↓ เนื้อไต 25% ↓ เซลล์ไต ต่อมลูกหมากโต พบ 20 % ↓ เนื้อไต 25% ↓ เซลล์ไต ↓ ขับของเสีย 10 ซีซี/10 ปี (หลังอายุ40) ----->↓ ขับยาที่ละลายในน้ำ

↓ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อหูรูดใน กระเพาะปัสสาวะ -------> กลั้นปัสสาวะไม่อยู่(10%) ปัสสาวะคั่งค้าง ↓ความสามารถทำให้ปัสสาวะเข้มข้น ---------> ↑ ขับน้ำ/เกลือ ในช่วงกลางคืน

ระบบต่อมไร้ท่อ การดูดซึมกลูโคสได้ไม่ดี ↑ เบาหวาน ↑ระดับน้ำตาล 5.3 mg%/10 ปี หลังอายุ 30 ปี ↓ ฮอร์โมนเอสโตรเจน, เทสโทสเตอโรน

ระบบการรับรู้อื่น ๆ ↓ การรับรส 50 % -----> ↓ความอยากอาหาร กินอาหารเค็มมากขึ้น ↓ การับกลิ่น

↓ ความรู้สึกกระหาย 25 % ------> ดื่มน้ำน้อย ร่างกายแห้ง ท้องผูก

ระบบโลหิตวิทยา ↓ การสร้างเม็ดเลือดแดง -----> โลหิตจาง ไขกระดูกฝ่อ -----> เม็ดเลือด และเกล็ดเลือดต่ำ