ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

FOOD PYRAMID.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
โดย ศ.ชโลบล อยู่สุข “ชมรมอยู่ดีมีสุข” วันที่ 1 ตุลาคม 2551
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การเสื่อมเสียของอาหาร
Emulsifying Agent.
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
Protein.
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
ไขมัน (Lipids or Fat) ประโยชน์ :  ธาตุที่เป็นส่วนประกอบ :- C H O
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
Chemical Properties of Grain
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 6 Alcohols and Ethers
บทที่ 1 Introduction.
บทที่ 3 Alkenes & Alkynes
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
whey เวย์ : casein เคซีน
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ภาวะไตวาย.
Biochemistry Quiz 2009.
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
Triacylglycerol สารประกอบที่มีองค์ประกอบในรูปนี้ มีชื่อว่าอะไร
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
Lab : protein chemistry JUN 27th, 2014 Rujira Patanawanitkul, M. D
การใช้ไขมันในอาหารโคนม
ยางพอลิไอโซพรีน.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 2)
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
ชั่วโมงที่ 34–35 ไขมันและน้ำมัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)

โครงสร้างโมเลกุลของ lipids โดยทั่วไปไม่ละลายน้ำ เพราะโครงสร้างส่วนใหญ่เป็น hydrocarbon ไม่ค่อยพบเป็นโมเลกุลอิสระในสารละลาย แต่อยู่รวมกับโปรตีน หรือรวมกันเป็นโมเลกุลใหญ่ ไม่เชื่อมกันด้วยพันธะโควาเลนต์หลาย ๆ โมเลกุลเป็นโพลิเมอร์ แต่มักรวมตัวกันด้วยแรง non-covalent

กรดไขมัน (Fatty Acids) เป็น lipids ที่ง่ายที่สุด เป็นองค์ประกอบของ lipids อื่น ๆ ที่ซับซ้อนมากขึ้น ประกอบด้วยหมู่ carboxylic ต่อกับสาย hydrocarbon สาย hydrocarbon มีความยาวประมาณ 12-24 carbons

กรดไขมันอิ่มตัวและกรดไขมันไม่อิ่มตัว Saturated fatty acid ไม่มีพันธะคู่ C=C ในส่วน hydrocarbon เช่น กรด stearic กรดไขมันไม่อิ่มตัว Unsaturated fatty acid มีพันธะคู่ C=C ในส่วน hydrocarbon เช่น กรด oleic

กรดไขมันที่ควรรู้จัก กรดไขมันอิ่มตัว Palmitic acid Stearic acid รหัสย่อ 16:0 18:0 จุดหลอมเหลว (°C) 63.1 69.6 กรดไขมันไม่อิ่มตัว Palmitoleic acid Oleic acid Linoleic acid Linolenic acid Arachidonic acid 16:1c9 18:1c9 18:2c9,12 18:3c9,12,15 20:4c5,8,11,14 16 5 -11 -50

กรดไขมันที่พบในธรรมชาติ ส่วนมากมีจำนวนคาร์บอนเป็นเลขคู่ ถ้ามีพันธะคู่ (ไม่อิ่มตัว) จะเป็นแบบ cis สัตว์ไม่สามารถสร้างกรดไขมัน PUFA ได้ ต้องได้จากอาหาร PUFA = polyunsaturated fatty acid

trans fat

ไขมันทรานส์ เชื่อว่ามีส่วนทำให้เกิดโรคหัวใจ ไขมันอุดตันในเส้นเลือด

Triacylglycerols: Fats

หน้าที่ของ Fats สร้างพลังงาน ในเมแทบอลิซึม ได้ ATP สร้างความร้อน เช่นในกรณีของ brown fat เป็นฉนวนกันความร้อน โดยเฉพาะในสัตว์ที่อาศัยในเขตหนาว

สบู่และสารซักฟอก สบู่ เกิดจากปฏิกิริยา saponification เกิดจาก fat ทำปฏิกิริยากับ NaOH หรือ KOH สบู่ มีข้อเสียคือ ตกตะกอนในน้ำกระด้างที่มีแคลเซียมหรือแมกนีเซียม สารซักฟอกที่สังเคราะห์ขึ้น ไม่เกิดตะกอน เช่น SDS

ไข (Waxes) เกิดจาก long-chain fatty acid ทำปฏิกิริยา esterified กับ long-chain alcohol ไม่ละลายน้ำ พบในขนนกและใบพืชบางชนิด จุลินทรีย์ในทะเลใช้เป็นอาหารสะสม ขี้ผึ้ง ก็เป็น wax

ขี้ผึ้ง ไขคาร์นูบา ไขปลาวาฬ

Lipids องค์ประกอบของ membrane Glycerophospholipids เช่น phosphatidylethanolamine phosphatidylcholine Sphingolipids และ Glycosphingolipids ประกอบด้วย sphingosine แทนที่ glycerol Glycoglycerolipids เช่น monogalactosyl diglyceride Cholesterol เป็นสารกลุ่ม steroids

Glycerophospholipids เรียกอีกชื่อว่า phosphoglycerides เป็น lipid ที่มีหมู่ phosphate อยู่ใน head group

Glycerophospholipids หมู่ X ถ้าเป็น H เรียกว่า phosphatidic acid ถ้าเป็นหมู่อื่น ก็ตั้งชื่อตามหมู่นั้น เช่น ถ้ามี ethanolamine มาต่อ ก็เรียกว่า phophatidylethanolamine หมู่ที่พบบ่อยคือ ethanolamine, choline, serine และ inositol

Sphingolipids ไม่มี glycerol เป็นองค์ประกอบ แต่เป็น sphingosine มาแทน Sphingosine ที่ต่อกับกรดไขมัน เรียกว่า ceramides ตัวอย่างของ sphingolipid ที่สำคัญคือ sphingomyelin

Glycosphingolipids เป็น sphingolipid ที่มี head group เป็นน้ำตาล อาจเรียกว่า glycolipids ทำหน้าที่เป็น blood group antigen นอกจากนี้ยังมีที่สำคัญคือ cerebroside และ ganglioside ซึ่งพบในเมมเบรนของเซลล์สมองและระบบประสาท

Glycosphingolipids cerebroside

Glycosphingolipids Ganglioside

Glycoglycerolipids พบมากในเซลล์พืชและจุลินทรีย์ ไม่ค่อยพบในเซลล์สัตว์ ตัวอย่างเช่น monogalactosyl diglyceride

Cholesterol ช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้ membrane เป็นสารในกลุ่ม steroid ซึ่งเป็นฮอร์โมน และเป็นสารตั้งต้นในการสร้างสารอื่น ๆ หลายชนิด