ดาวศุกร์ (Venus).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
(Structure of the Earth)
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
กลุ่มดาวในนิทานของไทย
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
โลก (Earth).
ยูเรนัส (Uranus).
การหักเหของแสง (Refraction)
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวพลูโต (Pluto).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน จัดทำโดย นาย นารากร สลักจอง ปวช.1 กลุ่ม 2.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดาวศุกร์ (Venus)

ดาวศุกร์เป็นดาวดวงที่สองถัดจากดาวพุธ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่หก มีวงโคจรที่เกือบจะเป็นวงกลมมากกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่น มีความเบี่ยงเบนน้อยกว่า 1 %

Venus หรือที่ชาวกรีกเรียกว่า Aphrodite เป็นเทพแห่งความรักและความสวยงาม ดาวเคราะห์ดวงนี้ได้ชื่อเนื่องจากเป็นดาวเคราะห์ที่สว่างมากที่สุดสำหรับคนในสมัยโบราณ

ดาวศุกร์เป็นที่รู้จักตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เนื่องจากเป็นวัตถุที่สว่างมากที่สุดบนท้องฟ้ารองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ และเช่นเดียวกับดาวพุธที่มีชื่อเรียก 2 ชื่อ คือ Eosphorus สำหรับดาวศุกร์ยามใกล้รุ่งและ Hesperus สำหรับดาวศุกร์ยามค่ำ

การหมุนรอบตัวเองของดาวศุกร์นั้นช้ามาก ใช้เวลาประมาณ 243 วัน และช้าลงเรื่อยๆ และเนื่องจากเวลาที่ใช้ในการหมุนรอบตัวเองและรอบดวงอาทิตย์มีค่าใกล้เคียงกัน (225 วัน) ทำให้ดาวศุกร์หันผิวหน้าเพียงด้านเดียวเข้าหาโลกเมื่อดาวทั้งสองดวงอยู่ใกล้กันมากที่สุด

ดาวศุกร์ เคยถูกกำหนดให้เป็นดาวน้องสาวกับโลก เนื่องจากความคล้ายคลึงกันทั้ง ขนาด มวล ความหนาแน่น และปริมาตร ดาวศุกร์มีขนาดเล็กกว่าโลกเพียงเล็กน้อย (95% ของเส้นผ่าศูนย์กลางของโลก และ 80%ของมวลของโลก) จากความเหมือนกันหลายประการ ทำให้คิดว่า ใต้ชั้นเมฆหนาของดาวศุกร์ น่าจะมีลักษณะที่เหมือนกับโลกและอาจมีสิ่งมีชีวิตอยู่

ต่อมาจึงพบว่าดาวศุกร์มีความแตกต่างจากโลกมาก ดาวศุกร์ไม่มีมหาสมุทร บรรยากาศที่หนาแน่นซึ่งประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซต์และไม่มีไอน้ำ เมฆซึ่งประกอบด้วยกรดซัลฟุริค และความกดดันที่พื้นผิวที่สูงกว่าพื้นผิวโลกมาก

ความดันบรรยากาศของดาวศุกร์ที่พื้นผิวมีค่าเท่ากับ 90 ATM หรือมีความดันเท่ากับที่ความลึก 1 กิโลเมตรใต้ท้องทะเล บรรยากาศประกอบด้วย คาร์บอนไดออกไซต์ เป็นส่วนใหญ่ มีชั้นเมฆหลายชั้นหนาหลายกิโลเมตรที่มีส่วนประกอบเป็นกรดซัลฟุริค ซึ่งความหนาของเมฆทำให้บดบังความสามารถในการมองเห็นพื้นผิวของดาวศุกร์

ชั้นบรรยากาศที่มีความหนาแน่นสูงทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) ซึ่งเป็นสาเหตุให้พื้นผิวดาวศุกร์มีอุณหภูมิสูง ระหว่าง 400 ถึง 740 K อุณหภูมิบนดาวศุกร์ยังสูงกว่าอุณหภูมิบนพื้นผิวของดาวพุธ ถึงแม้ว่าดาวศุกร์จะห่างจากดวงอาทิตย์เกือบสองเท่าของดาวพุธ

บนดาวศุกร์ ครั้งหนึ่งอาจเคยมีน้ำปริมาณมหาศาล แต่ได้ระเหยหายไปหมด ในปัจจุบันบนดาวศุกร์จึงแห้งแล้ง

การสำรวจด้วยคลื่นวิทยุซึ่งสามารถผ่านชั้นเมฆที่หนาของดาวศุกร์ได้ แสดงให้เห็นว่า พื้นผิวส่วนใหญ่ของดาวศุกร์ปกคลุมไปด้วยลาวาอายุน้อยราวๆ 300 ถึง 500 ล้านปีเท่านั้น พื้นที่ราบที่เก่าแก่บนดาวศุกร์มีอายุประมาณ 800 ล้านปีเท่านั้น พบภูเขาไฟรูปโล่ขนาดเล็กนับพันแห่ง

ในปัจจุบันยังมีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าปรากฏการณ์ทางภูเขาไฟยังเกิดขึ้นอยู่ แต่มีเพียง 2-3 จุดเท่านั้น การที่ยังเกิดมีปรากฏการณ์ทางภูเขาไฟอย่างมาก ทำให้ลักษณะภูมิประเทศเดิมหายไป

บนดาวศุกร์ไม่พบหลุมอุกาบาตขนาดเล็กบนพื้นผิวของดาวศุกร์ ซึ่งอาจเนื่องจากอุกาบาตจะหลอมละลายไปในขณะที่วิ่งผ่านบรรยากาศที่หนาแน่นของดาวศุกร์ หลุมอุกาบาตขนาดใหญ่ที่พบบนพื้นผิวดาวศุกร์ซึ่งมักเกิดเป็นกลุ่ม เชื่อว่าเกิดจากอุกาบาตขนาดใหญ่ซึ่งแตกออกเป็นก้อนขนาดเล็กเมื่อผ่านชั้นบรรยากาศลงมา

โครงสร้างภายในของดาวศุกร์เชื่อว่ามีลักษณะคล้ายกับโครงสร้างของโลก มีแกนกลางที่เป็นเหล็กซึ่งมีรัศมีประมาณ 3000 กิโลเมตร มีหินหลอมเป็นเนื้อ ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักดาวศุกร์

ดาวศุกร์ไม่มีสนามแม่เหล็ก ซึ่งอาจเนื่องจาการหมุนที่ช้ามาก และดาวศุกร์ไม่มีดาวบริวาร

ดาวศุกร์สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เป็นดวงดาวที่สุกสว่างที่สุดในท้องฟ้า