การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นำเสนอ เรื่อง x.25.
Advertisements

การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
การสื่อสารข้อมูลและ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
Accessing the Internet
แบบทดสอบ วิชา คอมพิวเตอร์ บทที่ 3
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
ISDN (Integrated Services Digital Network)
DSL : Digital Subscriber Line
SMTP.
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
ARP (Address Resolution Protocol)
Data Transferring.
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314
การต่อใช้งานเครือข่าย VPN ศูนย์สารสนเทศฯ
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
บทที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Fundamental of Data Communications and Networks) อ.ถนอม ห่อวงศ์สกุล.
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
มิสรจนา อินกลับ งานเทคโนโลยี โรงเรียนเซนต์หลุยส์ ฉะเชิงเทรา
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
What’s P2P.
เมนบอร์ด (mainboard). เมนบอร์ด (mainboard) Mainboard             Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก.
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
บทที่ ๖จาร อินเตอร์เน็ตคืออะไร เมื่อพิจารณาแล้วอาจจัดแบ่งเป็น ๒ มุมมอง - มุมมองด้านองค์ประกอบ - มุมมองด้านบริการ มุมมองด้านองค์ประกอบ อินเตอร์เน็ต หมายถึง.
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การแก้ไขปัญหาการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย เบื้องต้น
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
ADSL คืออะไร.
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
วัตถุประสงค์ อธิบายหลักการส่งข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรมได้
วัตถุประสงค์ บอกความหมายและส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถูกต้อง บอกคุณสมบัติพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้ บอกความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และประโยชน์
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ISP ในประเทศไทย
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Internet Service Privider
ระบบสื่อสารข้อมูลไร้สาย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ชื่อ นางสาวชื่นฤดี ไชยวงค์ โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 รหัส
ต่อไ ป. ต่อ ไป ต่อ ไป ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์นั้นก็คือ ระบบ ที่เกิดจากการนำเอาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
หน่วยที่ 1 ติดต่อสื่อสาร ค้นหา ข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี

การเชื่อมต่อ Internet

โปรโตคอลที่ใช้ในการเชื่อมต่อ การเชื่อมต่อผ่านโปรโตคอล SLIP ( Serial Line Internet Protocol ) การเชื่อมต่อผ่านโปรโตคอล PPP ( Point-to-Point Protocol )

การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อผ่านโมเด็ม การเชื่อมต่อแบบ DSL ลักษณะการเชื่อมต่อ แบบภายนอก การเชื่อมต่อผ่านพอร์ต อนุกรม (Serial Port) หรือ USB (Universal Serial Port) แบบภายใน การเชื่อมต่อผ่าน PCI Slot

การเชื่อมต่อผ่านโมเด็ม ความเร็วในการเชื่อมต่อ ยุคแรกๆ 300 kbps ปัจจุบัน 56,000 kbps การเชื่อมต่อจะต้องผ่านโมเด็มทั้ง 2 ฝ่ายทั้งผู้ขอรับบริการ และผู้ให้บริการ กระบวนการ Handshake จะทำการตรวจสอบความเร็วและ ข้อผิดพลาดระหว่างการสื่อสาร การส่งข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบของไบนารี

การเชื่อมต่อผ่านโมเด็ม

การส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์จะต้องผ่านการ Modulate เพื่อแปลงสัญญาณ Digital ให้เป็น Analog เพื่อส่ง สัญญาณผ่านสายโทรศัพท์ การรับข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์จะต้องผ่านการ Demodulate เพื่อแปลงสัญญาณ Analog ให้กลับเป็น Digital อีกครั้งหนึ่ง MODEM : Modulating/DEModulating

การเชื่อมต่อผ่านโมเด็ม

การเชื่อมต่อแบบ DSL DSL (Digital Subscriber Line) การเชื่อมต่อจะเชื่อมต่อผ่าน พอร์ตอีเทอร์เน็ต หรือ พอร์ต USB การส่งข้อมูลจะส่งข้อมูลผ่านสายทองแดง DSL จะแบ่งช่องทางในการสื่อสารออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วน รับข้อมูล ส่วนส่งข้อมูล และส่วนที่ใช้สนทนาทางโทรศัพท์ การเชื่อมต่อไม่ต้องอาศัยการหมุนโทรศัพท์ การเชื่อมต่อจะ มีอยู่ตลอดเวลา

การเชื่อมต่อแบบ DSL

กรณีที่มีการแบ่งระดับความเร็วในการรับและส่งข้อมูลที่ไม่ เท่ากัน จะเรียกการเชื่อมต่อแบบนี้ว่า ADSL (Asymmetric DSL) เช่นรับข้อมูลที่ความเร็ว 1.5Mbps และส่งข้อมูลที่ 512 Kbps พื้นที่ให้บริการจะมีเฉพาะจุดที่ผู้ให้บริการกำหนดไว้ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลจะลดเมื่ออยู่ไกลผู้ให้บริการ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดของระบบ DSL จะอยู่ที่ 55Mbps

การเชื่อมต่อแบบ DSL

การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN เป็นการเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่ายภายในองค์กร การเชื่อมต่อจะผ่าน Hub หรือ Switching Hub ผ่านไปยัง เครื่อง Server ภายในองค์กร แล้วจึงผ่านไปยังผู้ให้บริการ ภายนอกอีกทีหนึ่ง สัญญาณในการเชื่อมต่อจะเป็นแบบ Digital การเชื่อมต่อจะมีอยู่ตลอดไปขณะที่มีการเชื่อมต่อกับ เครือข่ายภายในองค์กร

การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย StandardFrequencyMediaData Rate (Mbps) Year IEEE GhzInfared, Radio1, IEEE802.11a5 GhzRadio IEEE802.11b2.4 GhzRadio IEEE802.11g2.4 GhzRadio IEEE802.11n2.4 GhzRadio การเชื่อมต่อจะผ่านมาตรฐาน IEEE หรือ WiFi

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย ส่วนประกอบหลักที่จำเป็นในการเชื่อมต่อแบบไร้สาย WiFi จุดเข้าถึงหรือ Access Point การ์ดเน็ตเวิร์กที่รอบรับตามมาตรฐานที่กำหนด มาตราฐานของการ์ดเน็ตเวิร์กและจุดเข้าถึง จะต้องเป็น มาตรฐานเดียวกัน

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย WiFi เมื่อเริ่มการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์จะทำการสแกนพื้นที่เพื่อ ค้นหาจุดเข้าถึง โดยส่งข้อมูลแพ็กเก็ตออกไปที่เรียกว่า Probe Request Frame และรอคอยการตอบรับจากจุดเข้าถึง (อาจมี มากกว่าหนึ่งจุดเข้าถึง) จากนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์จะตรวจสอบดูว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่นหรือไม่ที่กำลังติดต่ออยู่กับจุดเข้าถึง เมื่อจุดเข้าถึงว่างลงเครื่องคอมพิวเตอร์จะเริ่มติดต่อ โดยจะส่ง ข้อมูลร้องขอแพ็กเก็ตสั้นๆออกไปเรียกว่า Request to Send (RTS)

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย WiFi ถ้าจุดเข้าถึงว่าง มันจะตอบสนองด้วยการส่งแพ็กเก็ตสั้นๆที่ เรียกว่า Clear to Send (CTS) กลับมาเพื่อแจ้งต่อเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ร้องขอว่าพร้อมที่จะรับข้อมูล เครื่องคอมพิวเตอร์ก็จะส่งแพ็กเก็ตไปยังจุดเข้าถึงอีกครั้งหนึ่ง และรอจนกว่าจุดเข้าถึงจะส่งแพ็กเก็ต ACK (Acknowledgment) เพื่อยื่นยันว่าได้รับข้อมูลแล้วกลับมา ถ้าจุดเข้าถึงไม่ส่งแพ็กเก็ต ACK กลับมา เครื่องคอมพิวเตอร์ก็จะส่งข้อมูลซ้ำไปเรื่อยๆจนกว่า จะได้รับแพ็กเก็ต ACK กลับมา

การเชื่อมต่อแบบไร้สาย