4133517 Application for Math and Science CHAP 1 – 2 Aj.Drusawin Vongpramate science bru Cleve Moler.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Advertisements

รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
หลักการเบื้องต้นของภาษาซี
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
Introduction to C Programming
Functional programming part II
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
Data Structures and Algorithms
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ภาษา SQL (Structured Query Language)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
ฟังก์ชั่น function.
การสร้าง Random ตัวเลขซ้ำและไม่ซ้ำ การเรียกดูไฟล์ในโฟลเดอร์ Function
Creating Effective Web Pages
การใช้งาน Microsoft Excel
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
Flow Chart INT1103 Computer Programming
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
Week 11 Basic Programs 2.
Output of C.
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
CHAPTER 6 Mathematical Functions and Date/Time Functions.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ฟังก์ชันเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์. เนื้อหา คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเรียกใช้งานเมท็อดทาง.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Application for Math and Science CHAP 1 – 2 Aj.Drusawin Vongpramate science bru Cleve Moler

ทำไมต้อง Matlab? 1. โปรแกรมใช้งานง่าย ทำงานได้หลากหลาย รูปแบบด้วยสภาพแวดล้อมเชิงโต้ตอบคล้ายเครื่อง คิดเลขสามารถตรวจสอบค่าต่างๆ ซ้ำได้อย่ารวดเร็ว ประยุกต์ใช้ในการออกแบบและแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงมาก 2. มีทูลบ็อกซ์หรือไลบรารีฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ มากมาย สำหรับ พีชคณิต สถิติ การวิเคราห์ฟูเรีย ฟัซซีลอจิก การประมวลผลภาพและวิดีโอ การ คำนวณทางเศรษฐศาสตร์ และชีววิทยา เป็นต้น 3. มี Simulink ที่เป็นซอฟต์แวร์สนับสนุนการสร้าง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์บน Matlab พร้อมด้วย บล็อกเซ็ตหลายสาขาวิชา เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ ระบบต่างๆ การสร้างแอพพลิเคชั่น หรือสร้าง อุปกรณ์สำเร็จรูป

4. ประกอบด้วยฟังก์ชันสำหรับแสดงผลกราฟฟิกขั้น สูง ในการแสดงผลข้อมูลที่หลากหลายได้อย่าง สวยงาม นอกจากนั้นยังสามารถปรับแต่งการพล็อต ได้ง่าย 5. Matlab มีเครื่องมือช่วยปรับปรุงโค้ดต่างๆ ที่ ต้องการจะสร้างเป็นแอพพลิเคชั่นหรืออุปกรณ์ สำเร็จรูป 6. จัดหาเครื่องมือสำหรับสร้างแอพพลิเคชั่นบน Matlab ด้วย GUI (Graphic User Interface) นั่น คือ คุณสามารถสร้างแอพพลิเคชั่นบน Matlab ด้วย เครื่องมือคล้ายๆ กับ Visual Basic 6. Matlab สามารถเชื่อมการทำงานร่วมกับ ภาษาซี จาวา ดอทเน็ต เอ็กเซล หรือฮาร์ดแวร์ ภายนอก

Matlab Language Structure

ลำดับการคำนวณ การคำนวณบน Command windows มี ลำดับการคำนวณเหมือนคณิตศาสตร์ มาก คือ โปรแกรมจะทำการคำนวณ เรียงตามลำดับก่อนหลัง คือ ทำ โอเปอเรเตอร์ในวงเล็บ เลขยกกำลัง คูณ หาร บวก ลบและดำเนินการเรียง ตามลำดับจากซ้ายไปขวา

ลำดับการคำนวณ การ ดำเนินการ รูปแบบคำสั่ง บวก A+B ลบ A-B คูณ A*B หาร A/B หรือ B\A ยกกำลัง A^B

ตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง โจทย์ คำสั่ง Matlab >>A= (3*29)^3+((45*87)/100)

การใช้งานฟังก์ชันพื้นฐาน ชื่อฟังก์ชันความหมาย abs(x)Absolute value or magnitude of complex number acos(x)Inverse cosine acosh(x)Inverse hyperbolic sine angle(x)phase angle asin(x)Inverse sine asinh(x)Inverse hyperbolic sine atan(x)Inverse tangent atan2(x,y ) Four-quadrant inverse tangent atanh(x)Inverse hyperbolic tangent ceil (x)Round toward plus infinity

ชื่อฟังก์ชัน ** ความหมาย conj(x)Complex conjugate cos(x)Cosine cosh(x)Hyperbolic cosine exp(x)Exponential : e x fix(x)Round toward zero floor(x)Round toward minus infinity gcd(x,y)Greatest common divisor of integers x and y imag(x)Complex imaginary part lcm(x,y)Least common multiple of integers x and y log(x)Natural logarithm log10(x)Common (base 10) logarithm real(x)Complex real part rem(x,y)Remainder after division : rem(x, y) gives the remainder of x / y round(x)Round toward nearest integer Signum function: return sign of argument, e.g., Sign(1,2) =1, sign(-23, 4) = -1, Sign(0) = 0 sin(x)Sine sinh(x)Hyperbolic sine sqrt(x)Square root tan(x)Tangent tanh(x)Hyperbolic tangent

คำอธิบายการใช้งานคำสั่ง สามารถเรียกดูรายละเอียดการใช้งานแต่ ละคำสั่งได้ โดยตรงบนโปรแกรม MATLAB โดยการพิมพ์ help วรรคแล้ว ตามด้วยชื่อฟังก์ชันที่ต้องการทราบ เช่น >> help gcd % ซึ่งจะปรากฏคำอธิบายการใช้งาน คำสั่ง gcd พร้อมรายละเอียดและ ตัวอย่าง เพียงพอกับการทำความเข้าใจ และนำไปใช้งาน

รูปแบบการแสดงผล รูปแบบลักษณะแสดงผลรายละเอียด format short digits format long digits format short e e+015 digits plus exponent format long e e digits plus exponent format short g better of format short or format short e format long g better of format long or format long e

รูปแบบการแสดงผล >> format long >> A= A = รูปแบบลักษณะ แสดงผล รายละเอียด format hex 40496aaaaa aaaaab hexadecimal format bank decimal digits format + +positive, negative, or zero format rat 305/6rational approximatio n

การแสดงค่าของตัวแปรออกที่ หน้าจอ แบบที่ 1 fprintf(text) fprintf(‘My name is Seri Pansang’); % มีข้อสังเกตคือ ตัวอักษรที่จะพิมพ์ ต้องอยู่ใน เครื่องหมาย อัญประกาศ

การแสดงค่าของตัวแปรออกที่ หน้าจอ แบบที่ 2 fprintf(format, var); >> fprintf(‘The temperature is %d Celsius \n’,K(5)); % จากนั้นให้กด Enter จะได้ The temperature is 34 Celsius

สัญลักษณ์รายละเอียด %c%c ตัวอักษรตัวเดียว Single character %d%d จำนวนเต็มแบบเลขฐานสิบคิดเครื่องหมาย Decimal notation (signed) %e%e แสดงเป็นเลขยกกำลัง ตัว e เป็นตัวเล็ก Exponential notation (using a lowercase e as in e+00) %E%E แสดงเป็นเลขยกกำลัง ตัว E เป็นตัวพิมพ์ ใหญ่ Exponential notation (using an uppercase E as in E+00) %f%f เลขทศนิยม กำหนดจุดทศนิยมตายตัว Fixed-point notation %g%g แสดงค่าที่รัดกุมของรูปแบบ ในแบบ %e หรือ % f เช่น เมื่อมีค่า เป็น 0 ก็แสดง 0 ตัวเดียว The more compact of %e or %f %G%G เหมือน %g แสดง เอกโปเนนเชียลแบบ E ตัวพิมพ์ใหญ่ Same as %g, but using an uppercase E %i%i เลขฐานสิบ Decimal notation (signed) %o%o เลขฐานแปด Octal notation (unsigned) %s%s แถวของตัวอักษร String of characters %u%u เลขฐานสิบ Decimal notation (unsigned) %x%x เลขฐาน 16 ตัวพิมพ์เล็ก a-f Hexadecimal notation (using lowercase letters a-f) %X%X เลขฐาน 16 ตัวพิมพ์ใหญ่ A-F Hexadecimal notation (using uppercase letters A-F)

การประยุกต์ใช้งาน Ex.1 สมมติว่าชายคนหนึ่งสูง h เซนติเมตร ยืนอยู่ห่างจากอาคาร อาคารหนึ่ง เป็นระยะ D เมตร แหงน มองยอดตึกเป็นมุม องศา อยากทราบ ว่า ตึกนี้มีความสูงประมาณเท่าใด

การประยุกต์ใช้งาน 1. วาดภาพ ( ถ้าจำเป็น )

การประยุกต์ใช้งาน 2. หาตัวแบบคณิตศาสตร์ 3. เขียนคำสั่ง Matlab >> Building_heigh=h+D*tan(Phi*pi/18 0)

การประยุกต์ใช้งาน Ex.2 วงกลมสองวงมีจุดศูนย์กลาง เดียวกัน วงกลมวงใหญ่มีรัศมี 10 เซนติเมตร วงกลมวงเล็กมีรัศมี 7 เซนติเมตร จงหาพื้นที่วงแหวน

การประยุกต์ใช้งาน Ex.3 คุณตกลงซื้อรถคันใหม่ในราคา 68,7000 บาท เซลล์แมนเสนอ ทางเลือกการเข้าไฟแนนซ์ ให้สอง ทางเลือก คือ 1). จ่ายดอกเบี้ย 2.9 % เป็น ระยะเวลา 4 ปี 2). จ่ายดอกเบี้ย 8.9 % เป็น ระยะเวลา 4 ปี โดยจะได้ส่วนลด 55, บาท เงื่อนไขใดต้องจ่ายเงินน้อยกว่า