จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำพริก 4 ภาค จัดทำโดย เด็กชายปฏิพัทธ์ ผงผัน เลขที่ 19
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
โครงงาน เรื่อง น้ำหมักมะเฟือง สูตร 1 : 3 : 5.
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
การปักชำ เป็นการขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนต่างๆของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้นให้เจริญงอกงามเติบโตต่อไป.
~ ชาเขียว ~.
อาหารไทย 4 ภาค.
ประโยชน์ในผักแต่ละสี
หลักปฏิบัติ ๔ ประการ ในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี
ด.ช.สกลพัตร พันธุ์บุญปลูก ม.2/8 เลขที่10 ปีการศึกษา 2548
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
เมนูภัตตาหารพระนานาชาติ (Veg. & Non veg.)
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
กระชาย กระชายเป็นพืชผักในวงศ์เดียวกับขิง มีเหง้าหรือโคนลาต้นจมอยู่ใต้ดิน มีรากเรียว ยาวอวบน้ำ และออกเป็นกระจุก ส่วนเหง้าและรากที่มัก เรียกกันว่า หัว จะมีกลิ่นจัดเฉพาะตัวเนื่องจากมีน้ำ.
อาหารไทย.
ด.ช กฤษนัย ดีนุ ป4/2 เลขที่ 8
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
รายงาน Zoo Map Resame.
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
หมากเขียว MacAthur Palm
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
กล้วย.
พืชผักล้านนา จัดทำโดย เด็กชายศิวกร เที่ยงศรี ชั้น ม.1/1 เลขที่ 42 เสนอ
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
เด็กหญิง พัชราพร แก้วห่อทอง ชั้น ม. 2/9 เลขที่ 33
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
สมาชิกกลุ่ม 6 ชมเชยที่ 6 1.ด.ญ.ชลธิชา สอดศรี เลขที่ 29
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
แพทย์แนะกินสมุนไพรไทย 8 ชนิด สู้ไข้หวัด รับหน้าหนาว
น้ำสมุนไพร รักษาโรค.
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
น้ำสมุนไพร ถัดไป.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์ ข่าเหลือง จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Alpinia Zerumbet Sw. วงศ์ : ZINGIBACEAE ชื่อสามัญ : Galawya

ลักษณะทั่วไป ต้น เป็นไม้ล้มลุก เนื้ออ่อนที่ขึ้นเป็นแตกกอ สูง 1.5-2 เมตร เหง้ามีข้อและปล้องชัดเจน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ มีสีเขียว รูปใบหอกยาวใหญ่ รูปวงรีหรือเกือบขอบขนาน คล้ายใบพายเรือกว้าง 7-9 ซม. ยาว 20-40 ซม. ดอก ดอกช่อ ออกที่ยอด ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาว โคนติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ ปลายแยกเป็น 3 กลีบ กลีบใหญ่ที่สุดมีริ้วสีแดง ใบประดับรูปไข่ ผลแห้ง แตกได้ รูปกลม มีรสขมและเผ็ดร้อน

สรรพคุณและส่วนที่นำมาใช้เป็นยา เหง้าสด - ตำผสมกับเหล้าโรง ใช้ทารักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา เช่น กลาก เกลื้อน สารที่ออกฤทธิ์คือน้ำมันหอมระเหย เหง้าอ่อน - ต้มเอาน้ำดื่ม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และขับลม ข่าไม่มีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์และไม่เป็นพิษ

วิธีการใช้ อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด ทำได้โดยใช้เหง้าแก่ของข่าสดหรือแห้ง ขนาดเท่าหัวแม่มือต้มกับน้ำดื่ม กลากเกลื่อน เอาหัวข่าแก่ล้างให้สะอาด ฝานออกเป็นแว่นบางๆหรือทุบให้แตก เอาไปแช่เหล้าโรงทิ้งไว้ 1 คืน ทำความสะอาดบริเวณที่เป็น เอายามาทาบริเวณที่เป็น จนกว่าจะหาย

ประโยชน์ทางอาหาร การปรุงอาหาร คนไทยทั่วประเทศ รู้จักข่ากันเป็นอย่างดี โดยเฉพาะเหง้าแก่ เหง้าอ่อน และดอกข่า ถือได้ว่าเป็นผัก เหง้าแก่ใช้เป็นเครื่องปรุงรส แต่งกลิ่น และเป็นเครื่องปรุงสำคัญของต้มยำทุกชนิด และแกงบางชนิด ส่วนเหง้าอ่อน ต้นอ่อน และดอกอ่อน นำมารับประทานสดๆ หรือลวกให้สุก ใช้เป็นเครื่องจิ้มกับน้ำพริก เหง้าอ่อนสด ยังสามารถนำไปปรุงเป็นอาหารได้อีกด้วย เช่น ต้มข่าไก่ ตำเมี่ยงข่าไก่ หรือตำเมี่ยงข่า ต้มยำ

ประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกาย เหง้าอ่อนมีรสเผ็ด มีสรรพคุณเป็นยา ขับลมในลำไส้ แก้ปวดมวนไซ้ท้อง ดอกอ่อนก็มี รสเผ็ด เช่นเดียวกัน เหง้าอ่อน 100 กรัม ให้พลังงานต่อร่างกาย 20 กิโลแคลอรี่ มีเส้นใย 1.1 กรัม แคลเซียม 5 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 27 มิลลิกรัม เหล็ก 0.1 มิลลิกรัม วิตามินบี 2 0.15 กรัม และวิตามินซี 23 มิลลิกรัม

ต้มข่าไก่ ส่วนผสม เนื้อไก่ 500 กรัม กะทิ 1000 กรัม เห็ดฟาง 200 กรัม         เนื้อไก่            500    กรัม         กะทิ              1000  กรัม         เห็ดฟาง          200    กรัม        ข่าอ่อน              50    กรัม        ข่าทุบ               25    กรัม        ตะไคร้ทุบ          100    กรัม        ใบมะกรูด            3     กรัม        รากผักชี             37    กรัม        เกลือ                 10   กรัม        น้ำมะนาว            50   กรัม        น้ำปลา               50   กรัม        ใบผักชี               5    กรัม วิธีทำ        1 .หั่นไก่เป็นชิ้นพอสวยงาม      2.นำข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด รากผักชี ที่ทุบแล้วใส่หม้อ เติมกะทิตั้งไฟจนมีกลิ่นหอมแล้วจึงใส่เนื้อไก่เคี่ยวด้วยไฟอ่อนจนเนื้อไก่สุก      3.เติมกะทิที่เหลือจนหมด ปรุงรสด้วยเกลือ น้ำปลา พริกขี้หนู เห็ดฟางปิดไฟแล้วจึงใส่น้ำมะนาวโรยใบผักชี