หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
??? กฏข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ (The Second Law of Thermodynamics)
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
Heat Capacity นิยาม ความจุความร้อนโมลาร์ (C ): ความร้อนที่ให้สาร 1 โมล
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
บทที่ 5 ระบบการป้องกันไฟไหม้และระเบิด
1st Law of Thermodynamics
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
สมบัติของสารและการจำแนก
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
5.สมบัติยืดหยุ่นและสมบัติเชิงความร้อนของสสาร
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
น้ำและมหาสมุทร.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
พลังงานภายในระบบ.
คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
โครงการสอนการถ่ายเทความร้อน
(Internal energy of system)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
8. 3 ที่มาของปัญหาด้านคุณภาพน้ำ 1.) ประชากรเพิ่ม …. โดยเฉพาะในเขต ชุมชนหนาแน่น 2.) การใช้เทคโนโลยีไม่ถูกวิธี / ใช้มาก / ใช้ ไม่เหมาะสม … เกิดฝนกรดจากการเผา.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
Major General Environmental Problems
การหักเหของแสง (Refraction)
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
พันธะเคมี.
ภาวะโลกร้อน.
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
Module 1 บทนำ วัตถุประสงค์
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน สถานะ (phase) หมายถึงปริมาณของสารที่เป็นเนื้อเดียวกันตลอด ปกติจะมี 3 สถานะ ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ การเปลี่ยนแปลงจากสถานะหนึ่งไปสู่อีกสถานะหนึ่งของสาร การหลอมตัว (melting) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของแข็งไปเป็นของเหลว การแข็งตัว (Freezing) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลวไปเป็นของแข็ง การระเหย ( vaporization) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลวไปเป็นไอหรือก๊าซ การควบแน่น (condensation) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสถานะจากไอหรือก๊าซเป็น ของเหลว

ความร้อน ความร้อนสัมผัส (sensible heat) คือ ปริมาณความร้อนจำนวนหนึ่งที่ทำให้สารหนึ่งๆมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง โดยไม่ทำให้สถานะของสารนั้นเปลี่ยนแปลง ความร้อนแฝง (latent heat) คือปริมาณความร้อนจำนวนหนึ่งที่ให้สารหนึ่งๆ (หรือดึงออกจากสาร) แล้วทำให้สารนั้นเปลี่ยนแปลงสถานะภายใต้อุณหภูมิคงที่ ความร้อนจากปฏิกิริยาเคมี คือ พลังงานความร้อนของสารเชื้อเพลิง ขณะสารเชื้อเพลิงเผาไหม้จะปลดปล่อยพลังงานความร้อนออกมา . เอนทัลปี (H) เป็นคุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร์อีกตัวหนึ่ง ซึ่งมีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายใน (U) กับงานเนื่องจากการไหล (PV) ดังนั้นเอนทัลปีของระบบหนึ่งจึงเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ H = U + PV kj

อุณหภูมิอิ่มตัวและความดันอิ่มตัว การเดือดของน้ำที่ 100 องศา C เกิดที่ความดันบรรยากาศ ( 1atm) ดังนั้นใน สภาวะความดันอื่นๆ อุณหภูมิสำหรับการเดือดของน้ำก็จะแตกต่างกันไป ไดอะแกรม T-v เป็น ความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ (T) และ ปริมาตรจำเพาะ (V) ไดอะแกรม T-v แสดงขบวนการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำ ณ ความดันต่างๆ

ไดอะแกรม P-v ของสารบริสุทธิ์ที่หดตัวเมื่อมีการแข็งตัว

ไดอะแกรม P-T ในบางสภาวะ สถานะของสารบริสุทธิ์ คือของแข็ง ของเหลว ก๊าซ อาจจะอยู่ในสภาวะเดียวกันได้ ดังแสดงเป็นเส้นทริปเปิ้ล (triple line)

การถ่ายเทความร้อน 1. การนำความร้อน (conduction) หมายถึงการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นตกคร่อมระหว่างตัวสื่อกลาง 2. การพาความร้อน (convection) หมายถึงการถ่ายเทความร้อนที่เกิดขึ้นตกคร่อมระหว่างพื้นผิวและของไหลที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่ผิว และมีอุณหภูมิที่แตกต่างกัน 3. การแผ่รังสีความร้อน (radiation) ทุกๆ พื้นผิวมีอุณหภูมิอยู่ค่าๆ หนึ่งจะมีการส่งพลังงานออกมาในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และโดยที่ไม่ต้องมีสื่อกลางใดๆ จะมีการส่งผ่านความร้อนระหว่างสองพื้นที่ผิวที่มีอุณหภูมิแตกต่างกัน