วิจัย Routine to Research ( R2R )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Menu Analyze > Correlate
Advertisements

การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
Practical Epidemiology
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
แนวทางการดำเนินงานแก้ไขและป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
วิจัย (Research) คือ อะไร
Basic Statistical Tools
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
Wilcoxon Signed Ranks test
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารโครงเรื่องวิจัย
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
ทบทวนสถิติสำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมเพื่อการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง Factors Related to Readiness for Hospital Discharge.
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิจัย Routine to Research ( R2R ) ระบาดวิทยาการฆ่าตัวตายของประชาชนในอำเภอควนกาหลง และ มะนัง จังหวัดสตูล Epidemiology of Suicide Attempts in Khuankalong and Manang District , Satun Province .

ความเป็นมา ( Background ) การฆ่าตัวตายเป็นปรากฏการณ์ที่มีผลกระทบอย่างสูงต่อทั้งผู้กระทำ ผู้ใกล้ชิดและสังคมนั้นๆ การฆ่าตัวตายก่อความสูญเสียในด้านต่างๆ มากมาย ตัวอย่างเช่น การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร การสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาความเจ็บป่วยทางร่างกายจากการทำร้ายตนเอง และการมีผลกระทบต่อจิตใจของญาติและผู้ใกล้ชิด อาจทำให้พวกเขาไม่สามารถทำงานหรือหย่อนประสิทธิภาพลง

ด้านความสูญเสียแก่ประเทศในเชิงเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในประเทศไทยซึ่งวัยที่พบการเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายมากที่สุดในช่วงอายุ 20-40 ปี ซึ่งเป็นวัยหลักในการก่อผลผลิตให้แก่ประเทศ การฆ่าตัวตายในวัยนี้ยังมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตของครอบครัวอย่างสูง เนื่องจากเป็นวัยเริ่มมีครอบครัวหรือลูกยังอยู่ในวัยเรียน หากหัวหน้าครอบครัวเสียชีวิต ครอบครัวก็ขาดที่พึ่งไป พบว่าโดยเฉลี่ยแล้วการเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายแต่ละครั้งมีผลกระทบต่อคนใกล้เคียงอย่างน้อย 6 คน ( World Health Organization , 2000 ) หากเหตุการณ์เกิดขึ้นในโรงเรียนหรือโรงงานก็จะมีผลกระทบต่อคนได้เป็นจำนวน ร้อย แม้ในผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายแต่ยังไม่ถึงแก่ชีวิต ก็ยังมีความสูญเสียจากการที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล การเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือพิการทุพพลภาพ ตลอดจนปัญหาสุขภาพจิตของครอบครัวและผู้ใกล้ชิด ในระดับสังคมจัดว่าเป็นการสูญเสียทั้งแรงงานการผลิตและค่าใช้จ่ายในการรักษา

ประเทศที่คนฆ่าตัวตายมากที่สุดคือ ฮังการี ( 38.6 ต่อ แสนคน) รองลงมาคือ ศรีลังกา ไทย อยู่อันดับที่ 26 ( 6.9 ต่อ แสนคน ) ประมาณ 5,000 คนต่อปี หรือวันละ 13 คน หรือ 2 ชั่วโมงต่อ 1 คน

“ พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย ( Suicidal Behavior )” ( Diekstra , 1993 ) คำจำกัดความ ( Definition of Terms ) “ พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย ( Suicidal Behavior )” ( Diekstra , 1993 ) 1. การคิดอยากฆ่าตัวตาย ( suicidal ideation ) หมายถึง การมีความคิดอยากฆ่าตัวตาย 2. การพยายามฆ่าตัวตาย ( suicide attempts ) หรือ ปัจจุบันนิยมเรียก parasuicide หมายถึงผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย แต่ในที่สุดยังไม่ถึงแก่ชีวิต ศัพท์อีกคำหนึ่งที่ใกล้เคียงกันคือ deliberate self harm ซึ่งหมายถึง ผู้ที่ทำร้ายตนเองโดยเจตนา ไม่ว่าจะทำไปเพื่อต้องการ ตายหรือไม่ 3. การฆ่าตัวตายสำเร็จ ( completed suicide ) หมายถึง ผู้ที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย

การพยายามฆ่าตัวตาย ( Suicide attempts , deliberate self- harm , parasuicides ) จะพบบ่อยกว่าการฆ่าตัวตายและเสียชีวิต โดยพบได้ตั้งแต่ 6 : 1 ถึง 25 : 1 โดยเฉลี่ยทั่วโลกประมาณ 18 : 1 ( Diekstra , 1993 ) ผู้ที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายนั้นประมาณร้อยละ 30-60 เคยมีการพยายามฆ่า ตัวตายมาก่อน และในผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายเมื่อติดตามไประยะยาวพบว่า ร้อยละ 10-14 เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายในที่สุด ( Diekstra , 1993 ; Schmidtke et al , 1996 ; Tejedor etal , 1999 )

จำนวนผู้พยายามฆ่าตัวตายที่มารับการรักษา แผนกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลควนกาหลง สตูล พ.ศ 2548 - 2554

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบสถานการณ์การฆ่าตัวตายของประชาชน ในเขตอำเภอ ควนกาหลง และมะนัง จำแนกตามปัจจัยต่าง ๆ เช่น เพศ อายุ อาชีพ การนับถือศาสนา สถานะภาพสมรส ภูมิลำเนา สาเหตุการ ฆ่าตัวตาย ลักษณะการฆ่าตัวตาย การมีภาวะซึมเศร้า ประสบการณ์ การพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน สถานที่ฆ่าตัวตาย และฤดูกาลของการฆ่าตัวตาย

วิธีการศึกษา ( The Method of Study ) ใช้วิธีการศึกษาแบบ Cross-Sectional Study เก็บข้อมูลจากรายงานการพยายามฆ่าตัวตายของกรมสุขภาพจิต ระหว่าง พ.ศ 2548 -2554 ซึ่งบันทึกข้อมูลการมารับบริการของผู้ป่วยที่ฆ่าตัวตายไม่สำเร็จ จำนวนทั้งสิ้น 33 ราย ณ แผนกผู้ป่วยใน ของโรงพยาบาลควนกาหลง

วิเคราะห์ข้อมูล ( Data Analysis ) ใช้สถิติเชิงพรรณนา ( Descriptive Statistics ) เช่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่ามัธยฐาน ใช้สถิติ Non Parametric คือ Mann-Whitney U test เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ รายงานการฆ่าตัวตาย กรมสุขภาพจิต รง.506 DS

จำนวนและร้อยละ ของ Suicide Attempts จำแนกตามเพศ ปัจจัย ควนกาหลง มะนัง ( n=21 ) ( n=12 ) ชาย 4 ( 19.05 ) 3 ( 25 ) หญิง 17 ( 80.95 ) 9 ( 75 ) Ratio ชาย : หญิง 1 : 4.25 1 : 3

ผลการวิจัย ( The Result of Study ) สถานภาพสมรส ควนกาหลง มะนัง ( n=21 ) ( n =12 ) โสด 7 ( 33.33 ) 5 (41.67 ) คู่ 14 ( 66.67 ) 6 ( 50 ) แยกกันอยู่ 0 1 ( 8.33 ) Ratio โสด : คู่ 1 : 2 1 : 1.2

จำนวนและร้อยละ ของ Suicide Attempts จำแนกตามอาชีพ อาชีพ ควนกาหลง มะนัง ( n=21 ) ( n=12 ) นักศึกษา 6 ( 28.57 ) 3 ( 25 ) เกษตรกร 5 ( 23.81 ) 4 ( 33.33 ) รับจ้าง 4 ( 19.05 ) 3 ( 25 ) แม่บ้าน 3 ( 14.29 ) 1 ( 8.33 ) ค้าขาย 2 ( 9.52 ) 1 ( 8.33 ) ครู 1 (4.76 ) 0

จำนวน และ ร้อยละ ของ Suicide Attempts จำแนกตามกลุ่มอายุ อายุ ควนกาหลง มะนัง ( n=21 ) ( n=12 ) < 15 0 1 ( 8.33 ) 15-19 7 ( 33.33 ) 2 ( 16.67 ) 20 -34 10 ( 47.62 ) 7 ( 58.33 ) 35-44 4 ( 19.05 ) 2 ( 16.67 ) Max , Min 43 , 15 41 , 13 Median 22 23

จำนวน และ ร้อยละ ของ Suicide Attempts จำแนกตามกลุ่มอายุ อายุ ชาย หญิง ( n= 7 ) ( n=26 ) < 15 0 1 ( 3.85 ) 15-19 1 ( 14.29 ) 8 ( 30.77 ) 20 -34 5 ( 71.43 ) 12 ( 46.15 ) 35-44 1 ( 14.29 ) 5 ( 19.23 ) Max , Min 43 , 15 41 , 13 Median 22 23

ทดสอบความแตกต่างของอายุ ด้วย Mann –Whitney U test Area Number Mean Rank Sum of Rank P-value Khuankalong 21 16.50 346.50 0.699 * Manang 12 17.88 214.50 * No significant difference between median age in Khuankalong and Manang District

จำนวนและร้อยละของ Suicide Attempts จำแนกเป็นรายตำบล 2548 -2555 อำเภอควนกาหลง จำนวน ร้อยละ ทุ่งนุ้ย 3 14.29 ควนกาหลง 12 57.14 อุไดเจริญ 6 28.57 อำเภอมะนัง จำนวน ร้อยละ นิคมพัฒนา 7 58.33 ปาล์มพัฒนา 5 41.67

จำนวนและร้อยละของ Suicide Attempts จำแนกตามศาสนา 2548 -2555 อำเภอควนกาหลง จำนวน ร้อยละ พุทธ 20 95.24 อิสลาม 1 4.76 อำเภอมะนัง จำนวน ร้อยละ พุทธ 11 91.67 อิสลาม 1 8.33

จำนวนและร้อยละของ Suicide Attempts จำแนกตาม ประสบการณ์การเคยฆ่าตัวตาย ปัจจัย ควนกาหลง มะนัง ( n =21 ) ( n =12 ) เคยฆ่าตัวตายมากกว่า 1 ครั้ง 0 2 ( 16.67 ) ไม่เคยฆ่าตัวตาย 21 ( 100 ) 10 ( 83.33 )

จำนวนและร้อยละของ Suicide Attempts จำแนกตามการมีภาวะซึมเศร้า ปัจจัย ควนกาหลง มะนัง ( n =21 ) ( n =12 ) มีภาวะซึมเศร้า 7 ( 33.33 ) 3 ( 25 ) ไม่มีภาวะซึมเศร้า 14 ( 66.67 ) 9 ( 75 )

วิธีการฆ่าตัวตาย

จำนวนและร้อยละของวิธีการฆ่าตัวตาย วิธีการฆ่าตัวตาย ควนกาหลง มะนัง รับประทานยาเกินขนาด 15 ( 71.43 ) 8 ( 66.67 ) แขวนคอ 3 ( 14.29 ) 1 ( 8.33 ) รับประทานสารกำจัดแมลง 2 ( 9.52 ) 1 ( 8.33 ) รับประทานสารเคมี 1 (4.76) 1 (8.33) ใช้วัตถุมีคมแทงตามร่างกาย 0 1 ( 8.33 )

สาเหตุการฆ่าตัวตาย

จำนวนและร้อยละของสาเหตุ Suicide Attempts สาเหตุ ควนกาหลง มะนัง ผิดหวังและทะเลาะกับคู่รัก 10 (47.62) 6 ( 50 ) ทะเลาะกับบิดา มารดา 5(23.81) 2 (16.67 ) ความยากจน รายได้ไม่พอรายจ่าย 2 ( 9.52) 1 ( 8.33 ) เครียดและความโดดเดี่ยว อ้างว้าง 1 (4.76 ) 0 ทะเลาะขัดแย้งกับ สมาชิกครอบครัว 1 ( 4.76 ) 2( 16.67 ) ผิดหวังในรักและถูกต่อว่าโดยสมาชิกครอบครัว 0 1 ( 8.33 ) ผิดหวังในรักและถูกต่อว่าโดยบิดา มารดา 1( 4.76 ) 0 ผิดหวังในรักและถูกต่อว่าโดย บิดา มารดา 1( 4.76 ) 0 และสมาชิกครอบครัว

ปัจจัยด้านเพศกับวิธีการฆ่าตัวตาย เพศ รับประทาน แขวนคอ รับประทาน รับประทาน ใช้วัตถุมีคมแทง ยาเกินขนาด สารกำจัดแมลง สารเคมี ชาย 3 3 0 0 1 หญิง 20 1 3 2 0

ปัจจัยด้านสถานภาพสมรสกับวิธีการฆ่าตัวตาย ปัจจัย รับประทาน แขวนคอ รับประทาน รับประทาน ใช้วัตถุมีคมแทง ยาเกินขนาด สารกำจัดแมลง สารเคมี โสด 10 2 0 0 0 คู่ 13 2 3 2 0 แยกกันอยู่ 0 0 0 0 1

ปัจจัยด้านอาชีพกับวิธีการฆ่าตัวตาย ปัจจัย รับประทาน แขวนคอ รับประทาน รับประทาน ใช้วัตถุมีคมแทง ยาเกินขนาด สารกำจัดแมลง สารเคมี เกษตรกร 6 1 1 1 0 รับจ้าง 2 3 1 0 1 นักเรียน 9 0 0 0 0 แม่บ้าน 3 0 1 0 0 ครู 1 0 0 0 0 ค้าขาย 2 0 0 1 0

ปัจจัยด้านถิ่นที่อยู่กับวิธีการฆ่าตัวตาย ปัจจัย รับประทาน แขวนคอ รับประทาน รับประทาน ใช้วัตถุมีคมแทง ยาเกินขนาด สารกำจัดแมลง สารเคมี ทุ่งนุ้ย 3 0 0 0 0 ควนกาหลง 8 2 1 1 0 อุไดเจริญ 4 1 1 0 0 นิคมพัฒนา 6 0 0 1 0 ปาล์มพัฒนา 2 1 1 0 1

ปัจจัยด้าน อายุ กับวิธีการฆ่าตัวตาย ปัจจัย รับประทาน แขวนคอ รับประทาน รับประทาน ใช้วัตถุมีคมแทง ยาเกินขนาด สารกำจัดแมลง สารเคมี < 15 1 0 0 0 0 15-19 8 0 0 1 0 20-34 11 2 2 1 1 35-44 3 2 1 0 0

ปัจจัยด้านภูมิลำเนา กับ วิธีการฆ่าตัวตาย ปัจจัย รับประทาน แขวนคอ รับประทาน รับประทาน ใช้วัตถุมีคมแทง ยาเกินขนาด สารกำจัดแมลง สารเคมี ควนกาหลง 15 3 2 1 0 มะนัง 8 1 1 1 1

ปัจจัยด้านการมีภาวะซึมเศร้า กับ วิธีการฆ่าตัวตาย ปัจจัย รับประทาน แขวนคอ รับประทาน รับประทาน ใช้วัตถุมีคมแทง ยาเกินขนาด สารกำจัดแมลง สารเคมี มี 7 1 1 0 1 ไม่มี 16 3 2 2 0

อภิปรายผลการวิจัย ( Discussion ) Ratio ชาย : หญิง ของ Suicide Attempts ในอำเภอควนกาหลง เท่ากับ 1 : 4 และอำเภอมะนัง เท่ากับ 1 : 3 ซึ่งแตกต่างจากการศึกษาของ นพ.ประเสริฐ ( 2541 ) ที่พบว่า ratio ชาย : หญิง เท่ากับ 1 : 1 กลุ่มอายุที่พบว่ามีการพยายามฆ่าตัวตายมากที่สุด ในอำเภอควนกาหลง คือ 20 -34 ปี ( ร้อยละ 47.62 ) รองลงมา คือ 15-19 ปี ( ร้อยละ 33.33 ) และ 35-44 ปี ( ร้อยละ 19.05 ) ส่วนในอำเภอมะนัง พบการพยายามฆ่าตัวตายมากที่สุด ในกลุ่มอายุ 20 -34 ปี ( ร้อยละ 58.33 ) รองลงมา คือ 15-19 ปี (ร้อยละ 16.67 ) และ 35-44 ปี (ร้อยละ 16.67 ) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ นพ.ประเสริฐ ( 2541 ) ที่พบว่า การพยายามฆ่าตัวตาย พบใน วัยผู้ใหญ่ อายุ 21 ปีขึ้นไปมากที่สุด

อภิปรายผลการวิจัย ( Discussion ) วิธีการฆ่าตัวตายในอำเภอควนกาหลง และมะนัง ที่พบมากที่สุด คือ การรับประทานยาเกินขนาด ( ร้อยละ 71.43 ) และ ร้อยละ 66.67 ในมะนัง ซึ่งแตกต่างจากการศึกษาของ มาโนช ( 2545 ) ที่พบว่าคนไทย มักใช้วิธี แขวนคอมากที่สุด รองลงมา คือ การรับประทานสารเคมีทางการเกษตร Ratio ผู้พยายามฆ่าตัวตาย ในอำเภอควนกาหลง โสด : สมรส คือ 1 : 2 และในมะนัง คือ 1 : 1 ซึ่งขัดแย้งกับการศึกษาของ ( Kposowa 2000; Pescosolido & Wright 1990 ; Stack 1996 ) ที่พบว่า การเป็นโสด หรือ หย่าร้าง จะยิ่งมีอุบัติการฆ่าตัวตายสูงขึ้น

อภิปรายผลการวิจัย ( Discussion ) พบภาวะซึมเศร้าในผู้พยายามฆ่าตัวตาย ในอำเภอควนกาหลง และ มะนัง เท่ากับ ร้อยละ 33.33 และ ร้อยละ 25 ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ ( Dilsaver etal. 1994 ; ประเวช และ สุรสิงห์ , 2541 ) ที่พบว่า ประมาณร้อยละ 20-35 ของผู้ที่ฆ่าตัวตายมีสาเหตุมาจากโรคซึมเศร้า

ข้อเสนอแนะจากการทำวิจัย ควรเฝ้าระวังการฆ่าตัวตายซ้ำในกลุ่มผู้ป่วยที่เคยมีประวัติฆ่าตัวตายไม่สำเร็จมาก่อนโดยเฉพาะในกลุ่มนักศึกษา กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มลูกจ้าง สมควรให้ความสำคัญมากที่สุด เพราะจากผลการวิจัยพบว่ากลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้มีอุบัติการของการพยายามฆ่าตัวตายสูง ควรมีการทำครอบครัวบำบัด( Family Therapy ) กรณีปัญหาการพยายามฆ่าตัวตายเกิดจากความขัดแย้งของสมาชิกในครอบครัว ควรมีการให้คำปรึกษาแก่คู่สมรส ( Couple Couselling ) ในผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายจากปัญหาความขัดแย้งในชีวิตคู่ ควรเน้นเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า เป็นกรณีพิเศษเพราะจากการวิจัย ภาวะซึมเศร้า เป็นปัจจัยที่นำไปสู่การฆ่าตัวตายได้ หากไม่ได้รับการบำบัดรักษา

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาปัจจัยเสี่ยง ( Risk Factors ) และปัจจัยเชิงป้องกัน ( Protective Factors ) ของ Suicide Attempts ในกลุ่มของนักศึกษา เกษตรกร และ ผู้มีอาชีพรับจ้าง ควรศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมในการลดความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายในกลุ่มนักศึกษา เกษตรกร และ ผู้ที่มีอาชีพรับจ้าง ควรศึกษาความชุกของความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย ของประชากร ในอำเภอควนกาหลง และมะนัง สตูล

กิตติกรรมประกาศ ( Acknowledgement ) ขอขอบคุณท่านผู้อำนวยการโรงพยาบาลควนกาหลง ที่ได้สนับสนุนและส่งเสริมกระผมในการทำวิจัย R2R ครั้งนี้จนประสบผลสำเร็จ ขอขอบคุณคณะผู้จัดงานมหกรรม R2R , CQI และ Innovation ที่ได้ให้โอกาสผู้วิจัยได้มีเวทีในการนำเสนอผลงานวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณผู้ป่วย Suicide Attempts ทั้ง 33 ราย ในอำเภอควนกาหลง และมะนัง ที่ได้ให้ข้อมูลประกอบการวิจัยในครั้งนี้ จนเกิดองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้