งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการดำเนินงานแก้ไขและป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการดำเนินงานแก้ไขและป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการดำเนินงานแก้ไขและป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
ศูนย์สุขภาพจิตที่ ๙

2 Understanding suicide
•“พฤติกรรมการฆ่าตัวตาย (suicidal behavior)” (Diekstra1993)ซึ่งมีความหมายครอบคลุมถึง การคิดอยากฆ่าตัวตาย (suicidal ideation) หมายถึงการมีความคิดอยากฆ่าตัวตาย

3 Understanding suicide
การพยายามฆ่าตัวตาย (suicide attempts) หรือปัจจุบันนิยมเรียก parasuicideหมายถึงผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย แต่ในที่สุดยังไม่ถึงแก่ชีวิต ศัพท์อีกคำหนึ่งที่ใกล้เคียงกันคือ deliberate self harm ซึ่งหมายถึงผู้ที่ทำร้ายตนเองโดยเจตนา ไม่ว่าจะทำไปเพื่อต้องการตายหรือไม่ การฆ่าตัวตายสำเร็จ (completed suicide) หมายถึงผู้ ที่เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย ซึ่งทั้ง 3 ส่วนนี้จะมีด้านที่คาบเกี่ยวกัน

4 The American Association of Suicidology(2009
Country Year Age group(s) for whom rates highest Australia 10.9 (2003) 8.6 (2006) Young adults USA 10.7 1999 11.1 2005 Older adults(85+yrs) adults(45-55+) New Zealand 11.7 2004 13.2 2008 Older adults (85+yrs) Adults (20-29yrs) Japan 24 2003 24.4 2007 Adults (50-65+) Republic of Korea 23.8 21.9 2006 Hong Kong SAR 15.3 15.2 Older adults

5 The American Association of Suicidology(2009
Country Year Age group(s) for whom rates highest China 13.9 1999 20.8 2002 Young adults Older adults Philippines 0.5 1981 2.1 1993 Adults Singapore 9.9 2004 10.3 2006 INDIA 10.6 1998 17.38 Adults (35-59+) Thailand* 7.9 2003 7.8 (25-29)

6 ETIOLOGY ข่าว Sociological Factors เลียนแบบ Contagion suicide
อิทธิพลสื่อ ข่าว Add Your Text

7 ETIOLOGY Sociological Factors รวมกลุ่มเพื่อฆ่าตัวตาย
การเข้าถึงข้อมูลด้านลบ Contagion suicide มีwebsite ที่ส่งเสริม การฆ่าตัวตาย Add Your Text

8 RISK FACTORS Adolescence and late life
Bisexual or homosexual gender identity Criminal behavior Cultural sanctions for suicide Delusions Disposition of personal property Divorced, separated, or single marital status Early loss or separation from parents Family history of suicide Hopelessness

9 RISK FACTORS Increasing stress Insomnia Lack of future plans Lack of sleep Lethality of previous attempt Living alone Low self-esteem Male sex Physical illness or impairment Previous attempts that could have resulted in death

10 WARNING SIGNS แยกตัว ไม่พูดกับใคร มีคนในครอบครัวฆ่าตัวตายมาก่อน
เคยพยายามฆ่าตัวตายมาแล้ว เช่น กินยานอนหลับ กินสารเคมี กระโดดตึก แขวนคอ ยิงตัวตาย มีแผนฆ่าตัวตายที่แน่นอน โดยดูได้จากแจกจ่ายของรักของหวง พูดจาฝากฝังคนข้างหลัง จัดการงานหรือทรัพย์สินให้เรียบร้อย เวลาพูดมีน้ำเสียงวิตกกังวล สีหน้าเศร้าหมอง

11 WARNING SIGNS ติดเหล้าหรือยาเสพติด
ทรมานจากโรคจนต้องพึ่งยารักษาประจำ และนอนไม่หลับติดกันเป็นเวลานานๆ ชอบพูดเปรยๆว่าอยากตาย ไม่อยากมีชีวิตอยู่ ไม่มีค่า ไม่มีใครรัก ไม่มีใครสนใจ ประสบปัญหาชีวิต เช่น ล้มละลาย สูญเสียคนรักกะทันหัน เป็นโรคเรื้อรัง พิการจากอุบัติเหตุ

12 WARNING SIGNS มีอารมณ์ขึ้นๆลงๆ ที่น่าระวังคือ เมื่ออารมฌ์เปลี่ยนแปลงเป็นตรงกันข้าม จากซึมเศร้าหรือหงุดหงิดมานาน กลับดูสบายใจอย่างผิดหูผิดตา ช่วงนี้แสดงว่าเขารวบรวมความกล้าและตัดสินใจแน่นอนแล้วว่าจะฆ่าตัวตาย เดินไปเยี่ยมเยียนคนรู้จักโดยที่ไม่ได้ทำมาก่อน เหมือนไปบอกลา การทำพินัยกรรมในเวลาที่ยังไม่สมควร เป็นต้น

13 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการดำเนินงานแก้ไขและป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google