สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
Entity-Relationship Model E-R Model
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การอ่านและวิเคราะห์ บทความวิชาการ (ตัวอย่าง)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
ชนิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด มักทำให้ผ้าแข็ง สีหลุดออกได้ง่าย สีเป็นสารมีขนาดเล็กสามารถละลายน้ำหรือสารทำละลาย ซึมเข้าในเส้นใยได้ ไม่ต้องใช้สารช่วยติด

ความทนทานของสี สีมีความทนทานดี:การที่สี,พิกเมนท์สามารถรักษาสภาพของสีไว้ได้ ในขณะการนำไปใช้ ปัจจัยที่มีผลต่อความคงทนของสี 1.โครงสร้างทางเคมีของเส้นใย เส้นใยแต่ละชนิดมีโครงสร้างทางเคมีต่างกันจึงรับสีได้แตกต่างกัน 2.โครงสร้างทางเคมีของสีหรือพิกเมนท์ 3.การเติมสารผนวก สามารถลดและเพิ่มO2ให้แก่โมเลกุลสี เพื่อให้ดูดซึมได้ดี 4.วิธีการและเทคนิคในการให้สี เช่นการมอร์แดนท์ การย้อมทับ

ชนิดของสีที่เหมาะสมกับเส้นใย ฝ้าย ไดเรก ซัลเฟอร์ อะโซอิก แวต รีแอคตีฟ ลินิน เหมือนฝ้าย ไหม แอสิค ไดเรก รีแอคตีฟ ขนสัตว์ แอสิค

ใยสังเคราะห์ อะซิเตด ดีสเพิส อะไครลิก เบสิก อะไครลิก(mo) แอสิก อะซิเตด ดีสเพิส อะไครลิก เบสิก อะไครลิก(mo) แอสิก ไนลอน แอสิก ไนลอน(mo) เบสิก โพลิเอสเตอร์ ดีสเพิส โพลิเอสเตอร์(mo) เบสิก,ดีสเพิส เรยอง ไดเรก เรยอง(mo) แอสิก

คุณสมบัติของสีและพิกเมนท์ 1. ต้องเป็นสารที่มีสี เมื่อนำไปย้อม,พิมพ์สิ่งทอ สีต้องมีความทนทาน 2. สีจะต้องละลาย โมเลกุลสามารถกระจายตัว หรือสามารถเปลี่ยนเป็นสารที่ละลายในตัวกลางที่ใช้ให้สีสิ่งทอได้ 3.สีต้องสามารถซึมเข้าไปในเส้นใยได้ ภายใต้สภาวะการย้อมและหลังจากซึมเข้าไป จะต้องอยู่ภายในเส้นใยได้ ซึ่งสีสามารถดูดติดกับเส้นใยได้ด้วย แรงไอออน พันธะไฮโดรเจน แรงดึงดูดระหว่างอะตอมหรือโมเลกุลของสาร

คุณสมบัติของเส้นใยที่เกี่ยวข้องกับการย้อมสี โมเลกุลเส้นใยที่เรียงตัวเป็นระเบียบ โมเลกุลของสีแทรกเข้าไปยาก โพลิเมอร์จัดเรียงตัวกับหลวมไร้ระเบียบ โมเลกุลสีแทรกเข้าไปได้ สัดส่วนของส่วนมีระเบียบต่อส่วนไร้ระเบียบมีผลต่อการย้อมสีติด คุณสมบัติของเส้นใยในการดูดซับน้ำมีผลต่อการติดสี ขึ้นอยู่กับลักษณะไอออนของเส้นใยเมื่ออยู่ในน้ำย้อม โมเลกุลของเส้นใยจะดูดติดกับโมเลกุลของสีหากสีมีนน.โมเลกุลเพิ่มขึ้น

ชนิดของสี สีแอสิกหรือแอนอิออนนิก เป็นสีเมื่อละลายในน้ำแตกตัวให้อนุมูลประจุลบ ใช้ย้อมเส้นใยโปรตีน ไนลอน สแปนเดกซ์ โพลิเอสเตอร์ ทนทานต่อน้ำยาซักแห้ง ไม่ทนต่อการซัก ปรับปรุงได้โดยการเติมเกลือโลหะเช่น อลูมิเนียม ทองแดง ในการย้อมทับ เป็นการเพิ่มขนาดโมเลกุลของสีทำให้ทนทานต่อแดด,การซักมากขึ้น

สีเบสิกหรือแคตอิออนนิก ตรงข้ามกับสีแอสิก ใช้ย้อมไหม ขนสัตว์ ฝ้าย อะคริริค โมอะคริริก ใช้ย้อมเส้นใยโปรตีนและเซลลูโลสจะทำให้ทนต่อแสงแดด การซักและเหงื่อต่ำ

สีไดเรกหรือสีชนิดดูดติดเส้นใย สีแรกที่พบคือ congo red เป็นสีละลายน้ำได้ ใช้ย้อมเส้นใยได้โดยตรงมไต้องใช้มอร์แดนท์ ใช้ย้อมเส้นใยฝ้าย ลินิน เรยอง ขนสัตว์ ไหม ไนลอน สีไม่ค่อยสดใสเท่าเบสิก ทนทานต่อแสงแดดดีมาก ไม่ทนต่อการซักและสารฟอกขาวประเภทคลอรีน ทนต่อเหงื่อไคลและสารละลายซักแห้งดีมาก

สีดีสเพิส เป็นสีที่ละลายน้ำได้น้อย ส่วนใหญ่มีประจุเป็นกลาง ใช้ย้อมเส้นใยที่มีการดูดซึมน้ำน้อย สีจะอยู่ในน้ำย้อมในลักษณะของสารกระจาย เส้นใยจะดูดซึมเอาสีเข้าไป ใช้ย้อมเส้นใยอะซิเตดมีความทนทานต่อการซักต่ำ ใช้ย้อมโพลิเอสเตอร์ทนทานต่อการซักสูง ทนทานต่อเหงื่อไคล การขัดสี และสารละลายซักแห้งดีมาก

สีอินเกรน :สีสังเคราะห์ขึ้นภายในเส้นใย การย้อมใช้สองอ่าง อ่างแรกเส้นใยดูดสารชนิดหนึ่งไว้ ในอ่างสองจะเป็นสารอีกชนิดหนึ่ง สารชนิดแรกในเส้นใยจะทำปฎิกิริยากับสารที่สอง รวมเป็นโมเลกุลสีในเส้นใย สีมอร์แดนท์:เป็นสีย้อมที่เกิดจากการทำปฎิกิริยาระหว่างสีย้อมกับโลหะเกิดเป็นสีที่ไม่ละลายน้ำขึ้นในเส้นใย สีที่ได้มักเป็นสีตุ่น มีความทนทานต่อการซักและแสงแดดดีมากใช้ย้อมขนสัตว์ ไหม สแปนเดกซ์และเรยอง

สีออกซิเดชั่น:สีที่เป็นสารประกอบเมื่อซึมเข้าในเส้นใยทำปฎิกิริยาออกซิเดชั่นเกิดเป็นสารมีสีภายในเส้นใย เป็นสีที่ไม่ละลายน้ำ สีรีแอคตีฟ:สีย้อมที่ทำปฎิกิริยาเกิดพันธะทางเคมีกับเส้นใย สีจะมีหมู่ทำหน้าที่พิเศษสามารถทำปฎิกิริยากัยเส้นใยรวมเป็นโมเลกุลเดียวกันใช้ย้อมใยฝ้าย ไหมและไนลอน สีจะทำปฎิกิริยากับหมู่oHของใยเซลลูโลสและกับหมู่NH2ของใยโปรตีน ส่วนใหญ่ย้อมฝ้าย ทนต่อการซักและสารละลายซักแห้ง ไม่ทนต่อสารฟอกขาวคลอลีน

สีซัลเฟอร์ ก่อนย้อมจะอยู่ในสภาพของสีไม่ละลายน้ำเมื่อใช้ย้อมต้องนำมาทำปฎิกิริยาreductionอยู่ในรูปละลายน้ำได้ เมื่อเส้นใยดูดซึมเข้าไปจึงนำไปทำปฎิกิริยาออกซิเดชั่นให้อยู่ในรูปสารไม่ละลายน้ำเช่นเดิม ใช้ย้อมฝ้ายและเรยอง สีที่ได้ค่อนข้างตุ่น ใช้ย้อมสีน้ำเงินเข้ม ดำ น้ำตาล ทนทานต่อการซัก ไม่ทนต่อสารฟอกขาวคลอลีน คล้ายสีแวต ต่างกันตรงถูกรีดิวส์ง่ายกว่าแต่ออกซิไดส์ยากกว่าสีแวต

สีแวต: เป็นสีไม่ละลายน้ำเมื่อย้อมจะถูกรีดิวส์ในสารละลายด่างแล้วออกซิไดส์กลับเหมือนสีซัลเฟอร์ ทนทานต่อการซัก ทนต่อสารฟอกขาวคลอลีน สีไม่สดใส ใช้ย้อมฝ้าย เรยอง ไนลอน ลินิน ผ้าที่ย้อมหรือพิมพ์ด้วยสีแวตสีเหลืองเมื่อถูกแดดผ้าจะเปื่อยง่าย ไหมและไนลอนจะได้รับผลนี้เร็วกว่าฝ้ายและเรยอง

การย้อมสี 1. ย้อมขณะเป็นเส้นใย 1.1 Solution Dying ใช้กับเส้นใยสังเคราะห์ โดยเติมสีในสารละลาย ก่อนอัดเป็นเส้นใย 1.2 Stock or Fiber Dying ย้อมขณะที่เส้นใยรวมกันแบบหลวมๆ หรือขั้นตอนการสางและหวี 1.3 Top Dying นำเส้นใยที่ได้จากการcombed พับเป็นก้อนแล้วปั้มสีลงไป นิยมมาก

2. ย้อมสีขณะเป็นเส้นด้าย (Yarn Dying) นิยมใช้กันมาก ย้อมด้ายเป็นใจ กลุ่ม สิ้นเปลืองน้อย 3. ย้อมเมื่อเป็นผืนผ้า ประหยัดเวลาและถูกที่สุด สีอาจซึมเข้าไม่ทั่วเส้นด้าย