โดย เด็กหญิง จิรัญญา ฝั้นกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 เลขที่ 8 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนอนุบาลลำพูน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
Advertisements

C L O U D Mahidol Wittayanusorn School By M 5 / 1 0
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
ไฟป่า(Forest Fire).
พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
นางสาวเบญญาสิริ แก้วเบี่ยง
เรื่อง นกกากับเหยือกน้ำ
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
วิธีทำความสะอาดรอยเปื้อนต่าง
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
แผ่นดินไหว.
Clouds & Radiation.
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Demonstration School University of Phayao
สายนำสัญญาณข้อมูลที่ใช้ หลักการทางแสง กล่าวคือ ใช้ กับสัญญาณข้อมูลที่อยู่ในรูป ของคลื่นแสงเท่านั้นตัวแก้วนำ แสงอาจทำจากแก้วหรือ พลาสติก การสูญเสียของสัญญาณแสงใน.
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
การเรียกชื่อเมฆ.
CLICK TO ADVANCE SLIDES ตัดตอนจากบทความของC.H. SPURGEON
กาแล็กซีและเอกภพ.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
พระอาทิตย์กับลมพายุ.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ประเภทของมดน่ารู้.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ดาวเสาร์ (Saturn).
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เทศกาลชมดอกไม้ (Hanami) หรือ เทศกาลชมดอกซากุระ. จัดทำโดย นายวีรภัทร คำเจริญ มหาวิทยาลัยบูรพา.
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
เทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
20 อันดับเรื่องเหลือเชื่อทางวิทยาศาสตร์ จัดทำโดย ด. ญ. ดารารัตน์ สารพยอม ชั้น ม.1/12 เลขที่ 15 เสนอ ครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงรียนจักรคำคณาทรจังหวัดลำพูน.
เรื่องทำ Animetion ง่ายๆด้วย Easy toon จัดทำโดย ชื่อ ด. ช. ชนาธิป อร่ามดิลกรัตน์ เลขที่ 10 ชั้น 1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร.
ลมกับพระ อาทิตย์. ครั้งหนึ่งลมและดวงอาทิตย์ถกเถียงกันว่าใครจะคือ ผู้ที่มีพลังแข็งแกร่ง น่าเชื่อถือมากกว่ากัน ทั้งสอง ฝ่ายได้ตกลงกันว่าจะใช้วิธีตัด สินโดยการทดสอบ.
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ระบบสุริยะ จักรวาล.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปเอเชีย จัดทำโดย เด็กหญิง นภัสสร ประสิงห์ เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 เสนอ คุณครูอรอุมา พงษ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร.
จัดทำโดย ด. ช. ต่อสักดิ์ ถาน้อย ม.1/4 เลขที่ 9 ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน ม.1/4 เลขที่ 8 ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย เด็กหญิง จิรัญญา ฝั้นกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 เลขที่ 8 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนอนุบาลลำพูน

Stratocumulus clouds Shelf CloudsRoll Clouds Lenticular Clouds Cirrus Kelvin- Helmholtz Noctilucent Clouds Mushroom clouds Mammatus clouds Nacreous Altocumulus castelanus

เมฆแบบนี้เกิดขึ้นได้ยาก ลักษณะมันก็เหมือนกับ เอาดินน้ำมันมานวดๆเลย ออกมาเป็นเส้นยาวๆ

Shelf Clouds เมฆนี้มีลักษณะเป็นชั้นๆเหมือนกำบังและ จะมาเป็นแนวตั้งนอกจากนี้มันยังคล้อยตัว ต่ำจนน่ากลัว

Roll Clouds เมฆนี้เป็นเมฆฝนถึงขั้นที่จะเกิดพายุ แต่เป็น เมฆก้อนใหญ่บวกกับความดันอากาศความ ร้อนและเย็นทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของเมฆ เป็นม้วน เลยดูเหมือนคลื่นขนาดใหญ่

Lenticular Clouds เมฆนี้เกิดจากหลาย องค์ประกอบทั้งลมและ ความชื้นทำให้รวมกลุ่ม กลายเป็นเลนส์ได้

Cirrus Kelvin-Helmholtz เมฆม้วนเป็นเกลียว โอกาสเกิดขึ้นยากมาก และเกิดขึ้นเป็นเวลา 2- 3 นาทีแล้วจากนั้นก็เละ

Noctilucent Clouds เมฆ ตามชื่อ คือ เกิดขึ้นในช่วง กลางคืนแต่เรืองแสง ซึ่งเกิดที่ บริเวณแถวๆใกล้ๆขั้วโลกโดย แสงอาทิตย์จากอีกฟากส่องมา ปะทะกับเมฆ จึงเห็นเหมือนกับ เรืองแสงได้

Mushroom clouds เมฆแบบนี้คงไม่ใช่อะไรที่จะดี เท่าไหร่ เพราะมันเกิดจากการ ระเบิดอย่างแรง ซึ่งโดยส่วน ใหญ่จะเชื่อมโยงกับระเบิด นิวเคลียร์

Mammatus clouds เมฆ ลักษณะแบบเป็นกระเปาะยื่นลง มา คนทั่วไปมักจะนึกว่าเดี๋ยวจะมีพายุ เข้ามารึเปล่าหว่า จริงๆแล้ว เมฆนีไม่ใช่ สัญญาณเตือนอันตรายแต่อย่างใด แต่ มักเกิดขึ้นหลังจากที่พายุทอร์นาโดพ้น ผ่านไปแล้วต่างหากล่ะ

Nacreous เมฆ นี้เรียกได้ว่าเป็นไข่มุกแห่งเมฆาเลยทีเดียว เพราะสีนวลตาและหลากสี ทำให้เพลินตาดี ซึ่ง จะพบได้ที่แถบใกล้ๆขั้วโลกเช่นสแกนดิเนเวีย ตอนช่วงหน้าหนาว เวลาเย็นๆที่แสงอาทิตย์ส่อง ผ่าน เป็นเวลา 2 ชั่วโมงเท่านั้นที่เราจะเห็นแบบนี้

Altocumulus castelanus เมฆกลุ่มนี้คือจะเป็นพุ่มๆ เหมือนแมงกะพรุน เกิดจาก ลมที่ชื้นๆจากกระแสน้ำอุ่น กัลฟ์สตรีม มาเจอกับอากาศ แห้งๆ

: