ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 อาจารย์อรอุมา พงค์ธัญญ ดิลก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของโครงงาน.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ จัดทำโดย
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
รุ้งพิเศษสำหรับท่าน เมฆมีขอบเป็นสีน้ำเงินทั้งนั้น และแต่ละวันที่
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
Tommy's Window Slideshow
ดาวอังคาร (Mars).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วงจรสี.
การศึกษาชีววิทยา.
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ จัดทำโดย ด.ญ.ณัฐวิภา อิสริโยดม ม.2/2 เลขที่ 24
COMPUTER.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
Liquid Crystal Display (LCD)
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
เครื่องมือเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
วิชา วิทยาศาสตร์ เลือกเสรี สื่อประสม จัดทำโดย
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
เรื่อง เครือข่าย คอมพิวเตอร์.  คือการส่งข่าวสารหรือเรื่องราวที่มีความหมายจาก บุคคลฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้ส่ง ไปยังบุคคลอีกฝ่าย หนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับ.
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
เครื่องซักผ้า.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
ถัดไป. ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ถัดไ ป.
ระบบ โทรคมนาคม บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ระบบโทรคมนาคม.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
ประวัติของนักวิทยาศาสตร์ จัดทำโดย เด็กหญิง อัญชลี สมวะเวียง ชั้น ม.1/4 เลขที่ 48 เสนอ คุณครู ดลหทัย อินทร์จันทร์ โรงเรียน จักรคำคณาทร ลำพูน.
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เหตุการณ์สำคัญด้านเทคโนโลยีจากมุมมองของนักเคมี นวัตกรรมด้านเคมี ด้านวิศวกรรม และด้าน อิเล็กทรอนิกส์ นับตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึง ปัจจุบัน ทำให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารกันจากที่ใด.
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
ดาวศุกร์ (Venus).
ชื่อเรื่อง วัฏจักรของน้ำ จัดทำโดย เด็กชาย โชคชัย คำมะยอม เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 เสนอ อ.อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร สารบัญ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
โครงการอบรบเชิงปฏิบัติการ เรื่องการจัดการเรียนการสอนวิชา ฟิสิกส์ผ่านอินเตอร์เน็ต.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
วิทยาศาสตร์ Next.
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
10 นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญ
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
ระบบสุริยะ จักรวาล.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 อาจารย์อรอุมา พงค์ธัญญ ดิลก นักวิทยาศาสตร์ ...จัดทำโดย... เด็กหญิงกัลยา แปงดา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/11 ...เสนอ... อาจารย์อรอุมา พงค์ธัญญ ดิลก

นักวิทยาศาสตร์ กาลิเลโอ เซอร์ไอแซก นิวตัน โทมัส อัลวา เอดิสัน เซอร์ไอแซก นิวตัน โทมัส อัลวา เอดิสัน ไมเคิล ฟรายเดย์ หลุยส์ ปาสเตอร์ ลอร์ด เคลวิน อเล็กซานเดอร์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

กาลิเลโอ กาลิเลโอ พบกฎการแกว่งของลูกตุ้มนาฬิกา  ประดิษฐ์เครื่องมือจับการเต้นของชีพจร  พบเครื่องชั่งไฮโดรสแตติก  พบว่า วัตถุ  2  ชนิดที่มีน้ำหนักต่างกัน แต่ขนาดและรูปร่างเหมือนกัน  เมื่อปล่อยลงมาจากที่สูงจะตกลงมาถึงพื้นดินพร้อมกัน  ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์แบบหักเห

เซอร์ไอแซก นิวตัน คิดทฤษฎีไบโนเมียลได้  คิดฟลักเซียลได้สำเร็จ  ซึ่งต่อมาเรียกใหม่ว่า กฎเกณฑ์ในวิชาอินทีกราลแคลคูลัส  สร้างกล้องโทรทัศน์แบบสะท้อนแสง  พบแรงโน้มถ่วงของโลก และความโน้มถ่วงของจักรวาล และตั้งกฎของความโน้มถ่วง (Law  of  Gravitation) พบว่า ปริซึมสามารถแยกแสงจากดวงอาทิตย์ได้เป็น  7  สี  คือ แดง  ส้ม  เหลือง  เขียว  น้ำเงิน  คราม  และม่วง  พบกฎการเคลื่นที่

โทมัส อัลวา เอดิสัน ประวัติ : นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน  เกิด  ค.ศ. 1847  ที่รัฐ โอไฮโอ  สหรัฐอเมริกา  ตาย ค.ศ. 1931  รวมอายุ  84  ปี ผลงานที่สำคัญ : คิดเครื่องเคาะโทรเลขอัตโนมัติ  คิดเครื่องบันทึกคะแนน เสียงเลือกตั้ง  คิดเครือ่งถ่ายภาพยนตร์ได้  คิดเครื่องเล่นจานเสียงได้  คิด หลอดไฟฟ้าได้  เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์สิ่งประดิษฐ์อื่น ๆ  รวมทั้งสิ้น  1,100  ชิ้น

ไมเคิล ฟรายเดย์ ประวัติ : นักเคมี และนักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ เกิด ค.ศ. 1791  ที่เมืองเซอร์เรย์  ตาย ค.ศ. 1867  รวมอายุ 76 ปี ผลงานที่สำคัญ : พิสูจน์ว่า กระแสไฟฟ้า สามารถผลิตได้ จากแม่เหล็กไฟฟ้า  ประดิษฐ์ไดนาโม ศึกษากระบวนการที่ ผ่านกระแสไฟฟ้าลงไปในของเหลวเพื่อชุบโลหะ  ค้นพบ กฎการแยกสลายด้วยไฟฟ้าของฟาราเดย์ (Faraday's  law  of  electrolysis) ค้นพบกฎเกี่ยวกับ แม่เหล็กไฟฟ้าหลายอย่าง

ลอร์ด เคลวิน ประวัติ : นักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ และนักประดิษฐ์ชาว อังกฤษ  เกิด  ค.ศ. 1824 ที่เมืองเบลฟาสต์  ตาย ค.ศ. 1907  รวมอายุ  83  ปี ผลงานที่สำคัญ : ประดิษฐ์เครื่องหยั่งทะเลแบบใหม่ ประดิษฐ์กัลวานอมิเตอร์  แบบกระจกสำหรับใช้ในการโทร เลข  ประดิษฐ์โทรเลขแบบไซฟอน  สามารถใช้บันทึก ข่าวสารลงไปทันที  ประดิษฐ์เข็มทิศเดินเรือ แบบ ใหม่  ค้นพบมาตราสัมบูรณ์ของอุณหภูมิ