ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำหรับผู้มีธุรกิจยุ่งอย่างคุณ การยืดตัวที่โต๊ะคอมฯตัวโปรด ใช้เวลาประมาณ 4 นาทีเท่านั้น
Advertisements

ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
นวดหน้าด้วยตนเองที่บ้าน
Adult Basic Life Support
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอสู่คุณโดย ภายใต้การนำอย่างมีนวัตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
โดย นางสาวจิรวดี แก้วเจริญ
ยืดน่องส่วนบน เริ่มจากท่ายืนหันหน้าหากำแพงเท้าทั้งสองข้างแยกจากกันเล็กน้อยก้าวเท้าซ้ายออกเข่าซ้ายงอ มือ ทั้งสองยันกำแพง งอขาซ้ายให้มากขึ้น พลางขยับเท้าขวาถอยไปด้านหลังยืดกล้ามเนื้อน่องขวาค้างไว้สักครู่
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
การบริหารร่างกายทั่วไป
หลักสำคัญในการล้างมือ
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การบริหารกล้ามเนื้อต้นคอ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ตำแหน่งของลำตัวและศรีษะ
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
ทำอย่างไรเมื่อมีอาการไอ จาม เจ็บคอ มีน้ำมูก สวมหน้ากากทันที กรณีไอ จาม ใช้กระดาษทิชชูรองรับ และทิ้งในที่มิดชิด ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือเจลล้าง มือ.
นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ นี่เป็นบริการสาธารณะ นำเสนอ ภายใต้การนำและนวตกรรมของท่านประธาน Miguel Martin N. Moreno II, M.D.
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
กรณีกดจุดระงับหอบหืด ให้ผู้อื่นกดให้
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
กำมือ ข้อนิ้วชี้คลึงหนักๆ ที่ด้านข้างกึ่งกลางศีรษะ 5 วินาที 5 ครั้ง
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการความปลอดภัย
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน ก้มศีรษะ คางชิดอก กลั้นหายใจแล้วกลืน เมื่อกลืนแล้วให้กระแอม แล้วกลืนซ้ำอีก 1 ครั้ง      ตรวจดูว่ามีอาหารตกค้างอยู่ในปากหรือไม่ ก่อนป้อนอาหารคำต่อไป หลังฝึกเสร็จควรทำความสะอาดภายในช่องปากอีกครั้ง ถ้ามีอาการสำลักหรือไอเกิดขึ้นขณะกลืนอาหาร ให้ผู้ป่วยก้มหน้าลงทันที

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลลัพธ์ อาการน้ำลายไหลหรือมีอาหารไหลออกจากปาก อาการที่มีอาหารค้างในกระพุ้งแก้ม ไอขณะรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำ อาหารเป็นก้อนติดคอมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง มีเสียงน้ำในคอหลังจากการกลืน ไม่สามารถรับประทานอาหารได้โดยไม่พึ่งพา ใช้เวลาในการรับประทานอาหารเท่ากับหรือนานมากกว่า 20 นาที

ส่วนที่ 5 การประเมินการเกิดภาวะทุโภชนาการ ส่วนที่ 6 การประเมิน การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

การบริหารกล้ามเนื้อปาก เม้มริมฝีปากค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง ทำปากจู๋ – ยังฟันสลับกัน ทำ 10 ครั้ง ยิงฟันค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง ทำแก้มป่องแล้วย้ายแก้มป่องซ้าย-ขวาสลับกัน ทำ 10 ครั้ง อ้าปากค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง อ้าปากค้างไว้แล้วเคลื่อนขากรรไกรยื่นคางไปทางซ้ายค้างไว้ 5 วินาที แล้วย้ายไปทางขวา ทำเช่นเดียวกัน ทำทั้งหมด 10 ครั้ง

บริหารกล้ามเนื้อลิ้น แลบลิ้นออกมาตรงๆ ค้างไว้ 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง ส่ายลิ้นแตะมุมปากซ้ายสลับกับขวา ทำ 10 ครั้ง (หากทำไม่ได้ให้ใช้ไม้กดลิ้นช่วย) ออกเสียง “ลันลา” ทำ 10 ครั้ง กวาดลิ้นให้ทั่วปาก 5 วินาที ทำ 10 ครั้ง

บริหารกล้ามเนื้อเพดานอ่อนและผนังคอ เป่ากระดาษทิชชู เป่ายาง ทำแก้มป่องค้างไว้ แล้วกดแก้มที่ป่องให้ลมพุ่งออกทางปาก ทำ 10 ครั้ง

Dietary management อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

อาหารเหลวใส อาหารบดข้น อาหารเหลวข้น อาหารบดปานกลาง อาหารอ่อน อาหารทั่วไป

ข้อควรระวังขณะฝึกการกลืน หากผุ้ป่วยมีเสมหะมาก ควรดูดเสมหะก่อนหรือให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะก่อน เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง ไม่ควรให้ผู้ป่วยกลืนน้ำ หรืออาหารทางปาก หากผู้ป่วยยังรู้สึกตัวไม่เต็มที่ ไม่ควรฝึกกลืนในท่านอนศีรษะราบ ควรจัดให้ศีรษะและลำตัวของผู้ป่วยตั้งขึ้นขณะฝึกกลืน เพื่อป้องกันการสำลักน้ำและอาหารเข้าทางเดินหายใจ

ข้อควรระวังขณะฝึกการกลืน ขณะที่ผู้ป่วยสำลักน้ำและอาหาร ควรหยุดป้อนน้ำและอาหารก่อน พร้อมกระตุ้นให้ผู้ป่วยไอและเอาเศษอาหารที่อยู่ในช่องปากออก ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่ให้ศีรษะและลำตัวตั้งขึ้นประมาณ 30 นาทีหลังจากฝึกกลืน เพื่อป้องกันการขย้อนของน้ำและอาหารขึ้นมา

ข้อปฏิบัติในการฝึกกลืน …………… 1. ลักษณะการนั่งของผู้ป่วยระหว่างและหลังรับประทานอาหาร 30-60 นาที ( ) นั่งตัวตรง ( ) นอนปรับหัวสูง 30 องศา …………… 2.การจัดท่าช่วยในการฝึกกลืน ( ) ก้มศีรษะ คางชิดอก ( ) ยื่นหน้าไปข้างหน้า ( ) หันหน้าไปทางด้าน ( ) เอียงศีรษะไปทางด้าน …………… 3. เริ่มรับประทานอาหารคำเล็กๆ ควรใช้ช้อนก้นตื้น …………… 4. ห้ามดูดน้ำจากหลอด ใช้กระบอกฉีดยา ......... ซีซี หรือ ช้อนชา …………… 5. ห้ามรับประทานอาหารเหลวและน้ำจากปาก

ข้อปฏิบัติในการฝึกกลืน …………… 6. รับประทานอาหารคำเล็กๆพร้อมกับจิบน้ำตาม …………… 7. ตรวจดูอาหารค้างในปากหลังอาหาร …………… 8. การกลืนอาหารแบบ Supraglottic swallowing - เมื่อเคี้ยวอาหารพร้อมจะกลืนแล้ว ให้กลั้นหายใจ - กลืนอาหาร - กระแอมเพื่อตรวจเช็คการติดค้างของอาหาร แล้วกลืนซ้ำอีกครั้ง …………… 9. การกลืนอาหารแบบ Super supraglottic swallowing - ออกแรงผลักโต๊ะพร้อมกับกลืนอาหาร …………… 10. อื่นๆ.....................................................................................................