หลักการสอบสวน ทางระบาดวิทยา (Epidemiological Investigation) เกศรา แสนศิริทวีสุข กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง getsara_epid7@yahoo.com
สามศรีพี่น้อง : เลือกคนไหนดี สามศรีพี่น้อง : เลือกคนไหนดี ดารา : พี่สาวคนโตจบ ป. ๔ สวยเข้าขั้นไปวัดตอนเช้า ๆ การบ้านการเรือนดีมาก ได้รับมรดกที่ดิน ๑๐ ไร่ บ้าน ๑ หลัง เงินสด ๑ ล้านบาท ดุจเดือน : คนกลางจบ ปวช. สวยขั้นเทพีระดับจังหวัด นิสัย จู้จี้จุกจิก ได้รับมรดกบ้านพร้อมที่ดิน ๕ ไร่ เงินสด ๒ ล้านบาท ดุจดาว : น้องคนเล็ก จบปริญญาตรี สวยน้อง ๆ ดาราหนัง นิสัยเย่อหยิ่ง รับมรดกรถยนต์ ๒ คัน เงินสด ๕ ล้านบาท
ข้อมูลเพิ่มเติม ดารา อายุ ๕๙ ปี ดุจเดือน อายุ ๕๘ ปี ดุจดาว อายุ ๕๗ ปี
ประเด็น ความหมาย ทำไมจึงสอบสวนโรค แนวคิดการสอบสวนโรค แนวทางการสอบสวนโรค การเขียนรายงานสอบสวนโรค
นิยามศัพท์ (Terms) Outbreak -> เร่งด่วน, รวดเร็ว Epidemic = Outbreak Outbreak -> เร่งด่วน, รวดเร็ว Epidemic -> ขยายวงกว้าง Cluster ความเป็นกลุ่มก้อนของผู้ป่วยตามบุคคล, เวลา, สถานที่ Pandemic การระบาดที่ขยายวงกว้างไปหลายประเทศ, หลายภูมิภาคทั่วโลก Endemic การเกิดโรคเป็นประจำในท้องถิ่น
ความหมาย เป็นการค้นหาข้อเท็จจริง ของเหตุการณ์ การระบาด โดยการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ อธิบายรายละเอียด ของปัญหา ค้นหาสาเหตุ เพื่อนำไปสู่ การควบคุมป้องกันปัญหาการระบาดครั้งนั้นๆ และครั้งต่อไป เพื่อตอบคำถามว่า เกิดอะไรขึ้น เกิดกับใคร เกิดที่ไหน เกิดเมื่อไหร่ และเกิดอย่างไร (What, Who, Where, When, How, Why)
สอบสวนโรคไปทำไม Disease control ควบคุมโรคในขณะนั้นไม่ให้ลุกลามกว้างขวางต่อไป Disease prevention ป้องกันการเกิดโรคในอนาคต Gaining unknown knowledge เพื่อให้ได้ความรู้ที่ไม่เคยรู้มาก่อน Human capacity building เพื่อพัฒนาบุคลากร
Source/Mode of transmition แหล่งโรค/วิธีการถ่ายทอดโรค Disease control รู้ตัวโจร และ ทำลายรังให้ได้ Source/Mode of transmition แหล่งโรค/วิธีการถ่ายทอดโรค รู้ ไม่รู้ ควบคุมได้ มาตรการทั่วไป ปูพรม ควบคุมได้ เช่นอหิวาตกโรคที่ลอนดอน ควบคุมไม่ได้ แน่นอน รอให้หยุดเอง รู้ ไม่รู้ Causative Agent (สาเหตุ)
ทุกครั้งที่เกิดการระบาด Disease prevention ทุกครั้งที่เกิดการระบาด แสดงถึง ระบบการป้องกันโรค มีจุดบกพร่อง หากไม่แก้ไข ก็จะเกิดปัญหาขึ้นได้อีก และปัญหาครั้งต่อไปมักจะรุนแรงกว่าเดิม วางแผนเพื่อการป้องกันในอนาคต
Gaining unknown knowledge การสอบสวนโรค จะทำให้ได้รู้ข้อมูลลึกๆ ที่ไม่เคยรู้มาก่อน (new knowledge) ทำให้สามารถจะจัดการ กับปัญหาต่าง ๆ ให้ราบคาบได้ในอนาคต
Human capacity building หากได้ลงมือปฎิบัติจริง ๆ จะได้เรียนรู้ และเพิ่มทักษะ ของการสอบสวนโรคได้ดียิ่งขึ้น ยิ่งผ่านประสบการณ์มาโชกโชนมากเท่าใด ก็ยิ่งจะมีประสิทธิภาพในการสืบหาตัวต้นเหตุและจัดการได้ดีขึ้น ดังนั้นเมื่อเกิดการระบาด ต้องถือว่าเป็นโอกาสของการพัฒนาบุคลากร และเพิ่มทักษะการบริหารจัดการของการแก้ปัญหา
แนวคิดในการสอบสวนโรค เตรียมให้พร้อม ตรวจให้พบ ตีให้เร็ว ตามให้หมด
“ความคาดหวัง”- การออกสอบสวนโรค ผู้ป่วยรายแรก เริ่มการควบคุมโรค จำนวนผู้ป่วยที่ป้องกันได้ 14 เวลา (วัน)
แนวทาง การสอบสวนโรค
1. ตนเอง เตรียมความพร้อม ร่างกาย : เข้มแข็ง ทนทาน ร่างกาย : เข้มแข็ง ทนทาน จิตใจ : มีทัศนคติที่ดีต่องาน เปิดกว้าง ยืดหยุ่น อดทน มุ่งมั่น ความคิด : สร้างสรรค์ ติดตามข่าวสาร และ ความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ ทักษะ : ด้าน IT การติดต่อสื่อสารกับ บุคคลระดับต่าง ๆ
2. แหล่งความรู้ด้านต่าง ๆ คู่มือการเฝ้าระวังสอบสวนโรค การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง กลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่จะให้คำปรึกษาทางวิชาการด้านต่าง ๆ ระเบียบ วิธีการบริหารจัดการ 3. ทีมงาน วัสดุ อุปกรณ์ และเครือข่าย
ลงมือปฏิบัติการตามขั้นตอน การสอบสวนโรค
ขั้นตอนการสอบสวนโรค 1. เตรียมการปฏิบัติงานภาคสนาม 2. ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค 3. ตรวจสอบยืนยันการระบาด 4. ค้นหาผู้ป่วย รายแรก ๆ รายใหม่ 5. รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา - ข้อมูลผู้ป่วยตาม เวลา สถานที่ และบุคคล 6. ตั้งสมมุติฐานการเกิดโรค และพิสูจน์สมมุติฐาน 7. ศึกษาสภาพแวดล้อมและอื่นๆ เพิ่มเติมถ้าจำเป็น 8. สรุปสาเหตุ&เสนอมาตรการควบคุมป้องกันโรค 9. เขียนรายงาน ส่งให้ผู้เกี่ยวข้องใช้ประโยชน์ 10. ติดตามผลการดำเนินงานสอบสวนโรค
1.เตรียมการปฏิบัติงานภาคสนาม เตรียมความรู้เกี่ยวกับโรค เตรียมทีมสอบสวนโรค นักระบาดวิทยา นักวิชาการสุขาภิบาล/ นักวิชาการควบคุมโรค นักสุขศึกษา เจ้าหน้าที่สำหรับตรวจทางห้องปฏิบัติการ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (ในบางกรณี) เตรียมประสานงานกับห้องปฏิบัติการ
2. ตรวจสอบยืนยันการวินิจฉัยโรค ดูจากอาการ อาการแสดง และ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในกรณีที่ยังไม่รู้ว่าเป็นโรคอะไร การพยายามตรวจให้ทราบชนิดของโรคต้องเป็นวัตถุประสงค์หนึ่งในการสอบสวน
3. ยืนยันการระบาดของโรค เป็นขั้นตอนที่จำเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าเป็นการระบาดจริง ไม่ใช่ข่าวลือ หรือเป็นโรคที่พบเป็นประจำอยู่แล้วในฤดูกาลนั้นๆ มักใช้วิธีสอบถามข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เกี่ยวกับจำนวนผู้ป่วยรวมทั้งรายละเอียดอื่นๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจว่าควรจะออกสอบสวนโรคหรือไม่
การระบาด การที่มีเหตุการณ์เกิด มากกว่าปกติ ในพื้นที่เดียวกัน เมื่อเปรียบเทียบกับระยะเวลาเดียวกันในปีก่อน ๆ หรือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปในระยะเวลาอันสั้น หลังจากร่วมกิจกรรมด้วยกันมา Outbreak, epidemic Endemic, hyperendemic, pandemic
อย่างไรจึงจะเรียกว่า “มากกว่าปกติ” โดยทั่วไปใช้วิธีเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของจำนวนผู้ป่วยย้อนหลัง 3-5 ปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ของพื้นที่เดียวกัน “ค่าเฉลี่ยของจำนวนผู้ป่วย” อาจใช้ ค่ามัธยฐาน (median) หรือ ค่าเฉลี่ย เลขคณิต (mean) + 2 S.D.
ตัวอย่างการเทียบข้อมูลการป่วยในปีปัจจุบัน กับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง จะเขียนชื่อภาพนี้? จำนวน(ราย) 2557 มัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง ผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษ อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร
ป่วยด้วยโรคที่ไม่เคยพบมาก่อน การระบาด ผู้ป่วยหนึ่งราย แต่ ป่วยด้วยโรคที่ไม่เคยพบมาก่อน ? A 3-year old boy, case of Avian Influenza (H5N1) in Hongkong alerted the public health people around the world to start a full scale investigation.
ชนิดของการระบาด (Outbreak patterns) ชนิดแหล่งโรคร่วม (Common source outbreak) Point: มีการแพร่โรคในช่วงเวลาสั้นๆ Continuous: มีการแพร่โรคแบบต่อเนื่อง ชนิดแหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak) ประโยชน์คือ ช่วยเป็นแนวทางในการควบคุมป้องกันโรค
การระบาดชนิดมีแหล่งโรคร่วม Common source outbreak
เส้นโค้งการระบาด (Epidemic Curve) ชนิดแหล่งโรคร่วม Point source เวลาที่รับปัจจัยเสี่ยง จำนวนผู้ป่วย วันเริ่มป่วย
การแพร่ระบาดชนิดแหล่งโรคแพร่กระจาย
เส้นโค้งการระบาด (Epidemic Curve) ชนิดแหล่งโรคแพร่กระจาย จำนวนผู้ป่วย Source 3 Source 2 Source 1 วันเริ่มป่วย
ประโยชน์ของ Epidemic curve บอกชนิดของการระบาด ใช้คาดประมาณระยะเวลา ที่ได้รับเชื้อ (Exposure period)
การคาดประมาณช่วงเวลาที่สัมผัสปัจจัย Max. IP จำนวนผู้ป่วย Median. IP 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Min. IP (Point source outbreak) วันเริ่มป่วย
จำนวนผู้ป่วยโรคตับอักเสบ เอ ในโรงงานแห่งหนึ่ง ระยะฟักตัวที่ยาวที่สุด จำนวนผู้ป่วย ระยะฟักตัวเฉลี่ย ระยะฟักตัว ที่สั้นที่สุด ระยะฟักตัว 15-50 วัน ระยะฟักตัวเฉลี่ยประมาณ 1 เดือน ช่วงของการได้รับปัจจัยเสี่ยงควรจะมีการขยายออกไปประมาณ 10-20% กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน วันเริ่มป่วย ตัวอย่าง: โรคไวรัสตับอักเสบ เอ มีระยะฟักตัวสั้นที่สุด 15 วัน ยาวสุด 45 วัน ระยะฟักตัวเฉลี่ย 30 วัน
ประโยชน์ของการทราบชนิดการระบาด กำจัดแหล่งโรค แหล่งโรคร่วม ให้สุขศึกษา ปรับปรุงสุขาภิบาล แหล่งโรคแพร่กระจาย
4. การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม Outbreak, epidemic Endemic, hyperendemic, pandemic
เสี่ยง Iceberg Phenomenon รายงานโรค ไป รพ. ติดเชื้อ ... มีอาการ แต่ไม่ไป รพ. ติดเชื้อ ... เสี่ยง
(Passive case detection) (Active case detection) การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม (Case finding) การค้นหาเชิงรับ (Passive case detection) การค้นหาเชิงรุก (Active case detection) ผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลโดยผ่านการวินิจฉัยของแพทย์ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีอาการหนักและชัดเจน เป็นผู้ป่วยที่ยังอยู่ในชุมชน อาจจะมีอาการไม่มาก หรืออาจจะมีเชื้อแต่ไม่มีอาการ พร้อมที่จะแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้
กำหนดนิยามผู้ป่วย (Case definition) อาการทางคลินิก สถานที่ บุคคล เวลา พื้นที่ที่เกิดโรค หรือ พื้นที่เสี่ยง คนที่ร่วมใน เหตุ การณ์หรือกลุ่มที่เสี่ยงต่อโรค ระยะ เวลาที่ทำการค้นหาผู้ป่วย อาการที่ยืนยันจากการเกิดโรคจริงในขณะนั้น อาการตามทฤษฎีในกรณีที่รู้ว่าสิ่งก่อโรคคืออะไร จากการปรึกษาผู้เชี่ยว ชาญ
Case definition Sensitivity versus specificity
Sensitive case definition Most cases detected, but … SPECIFICITY SENSITIVITY many false positives many specimens to test low % tested specimens +ve Danger of overload
Specific case definition Cases missed, but … SENSITIVITY SPECIFICITY few false positives fewer specimens to test high % tested specimens +ve Danger of underload
นิยามผู้ป่วย (Case definition) ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) : อาการ/อาการแสดงชัดเจน ร่วมกับมีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยัน ผู้ป่วยน่าจะเป็น (Probable case) : อาการ/อาการแสดงชัดเจน ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) : อาการ/อาการแสดงไม่ชัดเจนมากนัก
การสอบสวนโรคอาหารเป็นพิษ ระหว่างวันที่ 11-12 เมษายน 2555 ได้รับรายงานผู้ป่วย ซึ่งน่าจะเป็นโรคโบทูลิซึ่ม จาก 2 หมู่บ้าน ข้อมูลเบื้องต้นพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่รับประทานหน่อไม้อัดปี๊บ นิยามผู้ป่วยที่เหมาะสมคือ ผู้ป่วย หมายถึง ประชากรในหมู่บ้านทั้ง 2 แห่ง ที่มีอาการอย่างน้อย 3 ใน 10 อย่างต่อไปนี้ ได้แก่ หนังตาตก กลืนลำบาก พูดไม่ชัด เสียงแหบ ปากแห้ง เจ็บคอ อุจจาระร่วง อาเจียน และแขนขาอ่อนแรงแบบสมมาตร ในระหว่างวันที่ 10-13 เมษายน 2555
ตัวอย่าง การสอบสวนโรคไข้เลือดออก วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ได้รับรายงานจาก รพ.หนึ่ง ว่า มีผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกเข้ารับการรักษา 1 ราย เป็น ด.ช. อายุ 14 ปี อยู่ที่ หมู่ 3 ต.คง อ.เมือง จ.หนึ่ง โดยเริ่มมีไข้สูงเมื่อวันที่ 19 พ.ค.2557 นิยามผู้ป่วย หมายถึง ประชากรใน หมู่ที่ 3 ต.คง อ.เมือง จ.หนึ่ง ที่มีอาการไข้สูงเฉียบพลันตั้งแต่ 2 วันขึ้นไป ร่วมกับ อาการอย่างน้อย 2 อย่างต่อไปนี้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง ผื่น จุดเลือดออก มีเลือดออก ทางจมูก ทางเหงือก ระบบทางเดินอาหาร โดยมีอาการในระหว่างวันที่ ? พฤษภาคม 2557 จนถึง ขณะที่สอบสวน
5. ศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา การกระจายของผู้ป่วย ตาม บุคคล เวลา สถานที่ บุคคล - อายุ เพศ อาชีพ ประวัติกิจกรรม เวลา - epidemic curve มีลักษณะเป็นการระบาด ชนิดใด ประมาณระยะเวลาการได้รับเชื้อ สถานที่ - พื้นที่ใดมีอัตราป่วยสูงสุด พื้นที่ใดมีการป่วย ก่อนหลัง สัมพันธ์กับกิจกรรมใดหรือไม่ Outbreak, epidemic Endemic, hyperendemic, pandemic
การวิเคราะห์การกระจายตามบุคคล ลักษณะของบุคคล เช่น อายุ, เพศ, เชื้อชาติ, อาชีพ สถานภาพสมรส, การได้รับภูมิคุ้มกัน โรคประจำตัว ชนิดของยาที่ใช้ เศรษฐฐานะ, การศึกษา หาอัตราป่วยตามตัวแปรนั้น ๆ (Specific attack rate) จะทำให้ทราบว่า “ใครคือกลุ่มที่เสี่ยงสูง?”
ตารางที่... จำนวนผู้ป่วย และอัตราป่วย ด้วยไข้หัดเยอรมันในแผนกกลางและแผนกขายส่ง จำแนกตามกลุ่มอายุและเพศ ม.ค.-ก.พ. 2557 กลุ่มอายุ ( ปี ) จำนวนผู้ป่วย จำนวนเจ้าหน้าที่ Attack rate (%) ชาย หญิง 20 - 24 1 6 16.67 25 - 29 3 8 29 10.34 30 - 34 2 22 25 9.09 35 - 39 11 40 – 44 4 25.00 45 – 49 50 + รวม 27 74 10.81 ตรวจสอบตารางพบอะไรผิดปกติ?
ตารางที่ 1 จำนวนผู้ป่วย และอัตราป่วย ด้วยไข้หัดเยอรมันในแผนกกลางและแผนกขายส่ง จำแนกตามกลุ่มอายุและเพศ ม.ค.-ก.พ. 2557 กลุ่มอายุ ( ปี ) จำนวนผู้ป่วย จำนวนเจ้าหน้าที่ Attack rate (%) ชาย หญิง 20 - 24 1 6 16.67 25 - 29 3 8 29 10.34 30 - 34 2 22 25.00 9.09 35 - 39 11 40 – 44 4 45 – 49 50 + รวม 27 74 7.40 10.81
วิเคราะห์การกระจายตามเวลา นำข้อมูล เวลาเริ่มป่วยของผู้ป่วยแต่ละราย นำมาวิเคราะห์ความถี่ของการป่วย ตามหน่วย เวลาที่เหมาะสม แล้วนำเสนอด้วย Histogram จะได้กราฟแสดงลักษณะการระบาด มีชื่อ เฉพาะเรียกว่า “Epidemic Curve” ซึ่งแสดง ให้เห็นว่า ผู้ป่วยรายแรกเริ่มเมื่อไร และราย ต่อ ๆ มาเกิดในช่วงเวลาใด และสามารถช่วย บอกถึง ชนิดของแหล่งโรคที่เป็นสาเหตุของ การระบาดครั้งนั้น ๆ ได้
รูปที่ 1 จำนวนผู้ป่วยอาหารเป็นพิษ จำแนกตามเวลาเริ่มป่วย รูปที่ 1 จำนวนผู้ป่วยอาหารเป็นพิษ จำแนกตามเวลาเริ่มป่วย หมู่ 4 ตำบลสากล อำเภอสากล จังหวัดหนึ่ง 30 มิถุนายน 2555 จำนวน (ราย) นาฬิกา 30 มิถุนายน 2555
รูปที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคบิด ตามวันเริ่มป่วย ต.คูตัน รูปที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคบิด ตามวันเริ่มป่วย ต.คูตัน อ. สอง จ. ศรีสะเกษ พ.ค. – ส.ค. 2555 จำนวน (ราย) พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. วันเริ่มป่วย
การวิเคราะห์การกระจายตามสถานที่ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของจำนวนผู้ป่วยกับสถานที่ที่เริ่มป่วย แล้วนำเสนอข้อมูลในรูปแผนที่ (mapping) จะช่วยให้เห็นลักษณะ ทิศทาง การกระจายของโรคในพื้นที่ได้
การระบาดชนิดแหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak) ผู้ป่วยโรคคางทูมแยกตามวันเริ่มป่วยและห้องเรียน ในโรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง, พ.ค. – ก.ย 2555 (จำนวนผป.ทั้งหมด 38 ราย) NS 1 NS 2 1 / 1 1 / 2 3 / 2 3 / 1 Weekly interval 2 / 1 2 / 2 Kit. นักเรียน 1 คน ครู 1 คน การระบาดชนิดแหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak)
การกระจายของผู้ป่วยโรคอัมพาตใบหน้า (facial palsy) อำเภอ ท. ระหว่าง มค เส้นเขตตำบล อำเภอ ท. แม่น้ำ ผู้ป่วย 1 ราย
6. ตั้งสมมุติฐานการเกิดโรค และพิสูจน์สมมุติฐาน
ตั้งสมมติฐาน: จากข้อมูลทั้งหมดของการระบาด ผู้ป่วย บุคคล สถานที่ เวลา วิเคราะห์ข้อมูล ชนิดของเชื้อ? แหล่งโรค? การแพร่ของโรค? ตั้งสมมติฐาน: จากข้อมูลทั้งหมดของการระบาด 32
ตั้งสมมุติฐานของการเกิดโรค โรคแพร่ได้อย่างไร (Transmission) แหล่งแพร่เชื้ออยู่ที่ใด ปัจจัยเสี่ยงของบุคคล (Risk factor)
ทดสอบสมมติฐาน ตั้งสมมติฐาน บุคคลที่เสี่ยงต่อการป่วย อะไรเป็นโรคที่ทำให้เกิดการระบาด แหล่งโรคและพาหะ วิธีการแพร่กระจาย ทดสอบสมมติฐาน
ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ พิสูจน์สมมติฐาน Cross sectional study Case-control study Cohort study
7. ศึกษาสภาพแวดล้อม และสิ่งประกอบอื่นๆ การศึกษาทางห้องปฏิบัติการ-การเพาะเชื้อ การตรวจทางซีโรโลยี ฯลฯ การศึกษาทางสภาพแวดล้อม-การตรวจคุณภาพน้ำ การสำรวจพื้นที่ ฯลฯ การศึกษาอื่น ๆ
สรุปสาเหตุ และ ข้อเสนอแนะ มาตรการควบคุมป้องกันโรค
หลักการควบคุมโรค การควบคุมแหล่งโรค: ตัดวงจรการถ่ายทอดโรค: กำจัดแหล่งโรค เคลื่อนย้ายคนออกจากพื้นที่เสี่ยง แยกผู้ป่วยและให้การรักษา ทำลายเชื้อ ตัดวงจรการถ่ายทอดโรค: ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ควบคุมพาหะนำโรค ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เพิ่มภูมิคุ้มกันในคน: ให้วัคซีนหรือให้ยาป้องกัน
มาตรการควบคุมและป้องกันโรค มาตรการเฉพาะ แก้ที่สาเหตุการระบาด มาตรการทั่วไป เป็นการป้องกันการระบาดใหม่
9. เขียนรายงานผลการสอบสวน ผู้ทำการสอบสวนโรคต้องรีบเขียนรายงานสรุปการสอบสวนให้เร็วที่สุด ซึ่งควรต้องมี องค์ประกอบสำคัญ 4 อย่าง คือ ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการสอบสวน วิธีการสอบสวน ผลการสอบสวน ข้อสรุป & ข้อเสนอแนะเพื่อการควบคุมและ ป้องกันโรค
10. ติดตามผลการดำเนินงานสอบสวนโรค ตามข้อเสนอแนะที่ได้จาก การสอบสวนโรค
? ขั้นตอนการสอบสวนโรค นพ.ธวัช จายนียโยธิน เตรียมตัวให้พร้อม น้อมรับเรื่องราว กรองข่าวให้ใส ไปที่เกิดเหตุ สังเกตว่าจริง สิ่งนั้นคืออะไร ใครคือผู้ป่วย หาด้วยรายแรก แบ่งแยกสัมพันธ์ ตั้งฐานสมมุติ พิสูจน์โดยใช้ PLACE TIME PERSON อย่าเนิ่นแนะนำ อาจทำให้เห็น เขียนเป็นรายงาน ? นพ.ธวัช จายนียโยธิน
ให้อาศัยคำไบ้ต่อไปนี้ ค้นหาว่าใครอยู่จังหวัดอะไรบ้าง และนำเสนออย่างมีระบบ แก้วใส สดสวย ทศพล และวรุต เป็นคนจังหวัด สุราษฎร์ธานี ขอนแก่น ชลบุรี และอยุธยา จังหวัดที่แก้วใสอยู่ไม่มีทะเล สดสวยพูดภาษาปักษ์ใต้ไม่เป็น ทศพลและสดสวยอยู่ใกล้กัน แต่บ้านทศพล อยู่ขึ้นไปทางเหนือของบ้านสดสวบ
เฉลย แก้วใส ขอนแก่น ทศพล อยุธยา สดสวย ชลบุรี วรุต สุราษฎร์ธานี
สวัสดี