ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator) ครู ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้
คุณต้องการให้ผู้เรียนไปที่ไหน? สร้างสะพานเชื่อมโยงจากจุดยืนของผู้เรียน ไปสู่ จุดที่ท่านต้องการให้ผู้เรียนไปถึง ผู้เรียนอยู่ตรงไหน? คุณต้องการให้ผู้เรียนไปที่ไหน? จะไปได้อย่างไร?
๐ ครูสอนผู้ใหญ่ควรเป็นผู้ฝึก(Trainer)ที่ดีด้วย ๐ ครูมักจะเน้นการให้ข้อมูล เล่าประสบการณ์และองค์ความรู้ ๐ ครูสอนผู้ใหญ่ควรเป็นผู้ฝึก(Trainer)ที่ดีด้วย ๐ เราควรเป็นทั้งผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้และ Trainerที่ดี
การขจัดความยุ่งยากหรือขจัด อุปสรรค การทำให้ง่าย หรือทำให้ง่ายขึ้น การอำนวยการกลุ่ม หมายถึง การขจัดความยุ่งยากหรือขจัด อุปสรรค การทำให้ง่าย หรือทำให้ง่ายขึ้น การทำหน้าที่หรือกิจกรรมก่อน ระหว่าง และ หลังการประชุม เพื่อช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ คือผู้ที่อำนวยการให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการช่วยให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการของตนเอง ผ่านการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน และคิดทบทวน วิธีการที่ใช้รวมถึง การสร้างบรรยากาศ การกำหนดกลไกให้มีการวางแผนร่วมกัน วิเคราะห์ความจำเป็นในการเรียนรู้ กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ตอบโจทย์ความจำเป็น ออกแบบประสพการการเรียนรู้ให้สอดคล้อง ดำเนินการตามที่ออกแบบด้วยการใช้เทคนิควิธีการต่างๆ ประเมินผลและปรับปรุง
ทักษะที่จำเป็นของ (Facilitator) กระตุ้นความคิด การสร้างบรรยากาศ การนำการอภิปราย การใช้คำถาม การฟัง การจับประเด็น สรุปความคิด ให้ข้อมูลย้อนกลับ สังเกต อ่านพฤติกรรมของผู้ร่วมประชุม การประนีประนอมแก้ไขข้อขัดแย้ง กำกับดูแลให้ดำเนินไปตามขั้นตอน การใช้ Tools ต่าง ๆ เช่น การระบุและจัดกลุ่มความคิด (Affinity Technique)
กระตุ้นด้วยการใช้คำถาม Facilitatorมืออาชีพ เป็นกลาง กระตุ้นด้วยการใช้คำถาม ตระหนักในภารกิจหน้าที่ และบทบาทของตนเอง
ไม่ตัดสินผู้อื่น ทำงานร่วมกับคนอื่น ไม่พัวพันเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ภายในกลุ่ม
คำถามเป็นเครื่องมือช่วยกระตุ้นความคิด -อธิบายให้รายละเอียด -วิทยานิพนธ์ระดับ ปริญญาเอก คำถามเปิด คำถามปิด ตอบว่า”ใช่” หรือ”ไม่ใช่” -กระตุ้นให้มีการอภิปราย และมีความคิดกว้างขวาง -ถามตรง เข้าประเด็น -จำกัดคำตอบ -ผู้ตอบได้เลือกและมี แนวคิดของตัวเอง -ผู้ถามจะควบคุมด้วย การจำกัดตัวเลือก -กระตุ้นให้ผู้ตอบได้สำรวจ แนวคิดต่าง ๆ -ผู้ถามควบคุม สถานการณ์การเรียนรู้ -คำตอบหลากหลาย
-คำถามตรง และเข้าประเด็น คำถามปิด -คำถามตรง และเข้าประเด็น -จำกัดคำตอบ ผู้ถามจะควบคุม ด้วยการจำกัดตัวเลือก ตัวอย่าง คุณตื่นกี่โมง? คุณคิดว่าเราควรเปิดสถาบันพรุ่งนี้ไหม?
คำถามเปิด -กระตุ้นให้มีการอภิปรายและมีความคิด กว้างขวาง มีแนวคิดของตัวเอง -กระตุ้นให้ผู้ตอบได้สำรวจแนวคิดต่าง ๆ รวมทั้งมีคำตอบที่หลากหลาย ตัวอย่าง เราจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร? คุณสมบัติของผู้นำที่ดีมีอะไรบ้าง?
ถามเพื่อให้นำไปปฏิบัติ ใคร อะไร เมื่อไร ที่ไหน/ขอให้อธิบาย ถามความรู้ ถามให้ประเมิน ถามความเข้าใจ ให้ตัดสินใจโดย คำนึงถึงคุณค่า อธิบาย ตีความ จัด ระบบ เลือกข้อมูล จัด กลุ่มความคิด เล่าต่อ คำถาม 6 ประเภท ถามให้สังเคราะห์ ถามเพื่อให้นำไปปฏิบัติ -สร้างผลผลิตใหม่ -สร้างความคิดใหม่ เป็นของตัวเอง -รวม ผสมความคิด เพื่อให้เกิดความ คิดรวบยอดใหม่ ให้แก้ปัญหา นำข้อมูล ไปใช้ให้เกิดผลลัพธ์ ใช้ข้อมูล กฎ หลักการ ถามให้วิเคราะห์ ให้แบ่ง ให้หา โครงสร้าง ระบุสิ่ง จูงใจ แยกส่วนย่อย
ผลที่เกิดขึ้นคือ ผู้สอนได้เรียนรู้เช่นเดียวกับผู้เรียน Learning by Teaching เป็นวิธีการที่ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้เมื่อได้สอน มีการมอบหมายให้ผู้เรียนจับกลุ่มเล็กๆและให้ศึกษาคันคว้าประเด็น /เนื้อหาหรือส่วนหนึ่งของเนื้อหา พูดคุย กำหนดกลยุทธ และวิธีการสอนร่วมกัน ทำการสอน ผลที่เกิดขึ้นคือ ผู้สอนได้เรียนรู้เช่นเดียวกับผู้เรียน