โดย นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ รหัส 53660549 BOX COUNTING.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
Advertisements

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 6 The Fast.
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การถดถอยเชิงเดียว (simple regression)
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
โดย ศศิธร อารยะพูนพงศ์ สำนักคอมพิวเตอร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
การนำทฤษฎีกราฟมาใช้ในด้าน
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
Use Case Diagram.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
CSC201 Analysis and Design of Algorithms Greedy, Divide and Conquer
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
เครื่องเคาะสัญญาณ.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
เรื่อง การนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟ
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
สหสัมพันธ์ (correlation)
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
การแจกแจงปกติ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การนำเสนองานบนอินเตอร์เน็ต
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
กราฟพฤติกรรมภายใต้ช่วงเวลา (BOT)
สวัสดี...ครับ.
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
Classification Data mining การทำเหมืองข้อมูลแบบจำแนก
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
ความชันและสมการเส้นตรง
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Week 13 Basic Algorithm 2 (Searching)
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ รหัส BOX COUNTING

ใช้ในการประมาณค่าของมิติแฟร็กทัล วิธีการของ Box Couting ทำการแบ่งภาพขนาด RxR จุดภาพเป็นตาราง ย่อยขนาด sxs จุดภาพ โดย 1 ช่องตาราง แทน 1 จุดภาพ ตารางที่แบ่งจะอยู่ในรูป 2 n โดยที่ n เริ่มตั้งแต่ 1,2,3 และมีขนาดมากสุด เป็น R/2 จากนั้นทำการนับจำนวนช่องตารางย่อยที่มี ส่วนของภาพอยู่ เรียกว่า Box Count แทน ด้วย N(s) และทำการบันทึกข้อมูลค่า Box Count ที่นับได้ และขนาดของตารางแทนด้วย s จากนั้นเปลี่ยนขนาดของตารางให้ใหญ่ขึ้นจน ครบ R/2 x R/2 จุดภาพ

BOX COUNTING จากนั้นนำข้อมูลที่ได้จากการนับตารางย่อยที่ มีภาพปรากฎอยู่มาสร้างกราฟความสัมพันธ์ แบบล็อการิทึม โดยที่แกน x เป็น log(1/s) ส่วนแกน y เป็น log(N(s)) จากนั้นทำการประมาณค่าความชันของ เส้นตรงด้วย Best Fit Line ความชันของ กราฟที่ได้จะเป็นตัวแทนของมิติแฟร็กทัล

BOX COUNTING ตัวอย่างการคำนวณคำนวณมิติแฟร็กทัลของภาพ Koch Curve ขนาด 256x256

BOX COUNTING ใช้การเป็นตารางกริดขนาดใหญ่ที่สุดไม่เกิน R/2 ในที่ R=256 ดังนั้นแบ่งเป็นตาราง กริดขนาด s=128 ดังรูป ทำการนับในตารางกริดที่มีรูปปรากฏ ในที่นี้ได้ 4 บันทึก เป็นค่า s และ N(s) sN(s) 1284

BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 128/2 = 64 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน 6 ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s)

BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 64/2 = 32 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน 18 ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s)

BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 32/2 = 16 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน 38 ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s)

BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่ง s = 16/2 = 8 และดำเนินการนับจำนวนของตารางกริดที่มีรูปภาพ ปรากฏในที่นี้นับได้จำนวน ช่อง บันทึกค่า s และ N(s) sN(s)

BOX COUNTING ลดขนาดของตารางกริดลงครึ่งหนึ่งไปเรื่อยๆ จนกระทั่ง s มีค่ามากกว่า 1 จากนั้นนับจำนวนตารางกริดที่มีภาพ ปรากฏและบันทึกข้อมูลของ s และ N(s) จะได้ข้อมูล ดังตารางต่อไปนี้ sN(s)

BOX COUNTING SBox Count (N(s)) Log(1/s)Log(N(s)) จากนั้นนำค่าที่ได้มาคำนวณหาค่า Log(1/s) และ Log(N(s)) จะได้ข้อมูลดังนี้

BOX COUNTING และเมื่อนำข้อมูลที่ได้มา Plot กราฟเพื่อหาค่าความชันได้ ดังรูปต่อไปนี้ จะได้ค่าความชันของกราฟเป็น ซึ่งจะเป็นค่าที่ใช้ แทนมิติแฟร็อกทัล (FD) ของ Koch Curve ข้างต้น