การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

ลิมิตและความต่อเนื่อง
ความน่าจะเป็น Probability.
สับเซตและเพาเวอร์เซต
เรื่อง เซต ความหมายของเซต การเขียนเซต ชนิดของเซต สับเซตและเพาเวอร์เซต
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
คอมพลีเมนต์ นิยาม คอมพลีเมนต์ของเซต A เขียนแทนด้วย หมายถึง เซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งเป็นสมาชิกของเซต แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A.
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
Probability & Statistics
Probability & Statistics
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
การเรียงสับเปลี่ยนและทฤษฎีการจัดหมู่
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ตัวอย่างที่ 2.16 วิธีทำ จากตาราง.
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
การดำเนินการของเซต 1. ยูเนียน
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
อินเตอร์เซกชั่น (Intersection) คอมพลีเมนต์ (Complement)
การนับเบื้องต้น Basic counting
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
Introduction to Digital System
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การดำเนินการเกี่ยวกับเซต
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
สาระการเรียนรู้ที่ ๒ การเชื่อมประพจน์
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
คุณสมบัติของภาษาเรกูลาร์
Chapter 4: Probability ความน่าจะเป็น.
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (Probability of an event)
Chapter 4: Probability ความน่าจะเป็น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์

เมื่อศึกษาหน่วยนี้จบแล้ว 1. สามารถหายูเนียน (Union ) , อินเตอร์เซ็กชั่น (Intersection ) , คอมพลีเมนต์ (Complement ) และ ผลต่าง (Difference ) ของเหตุการณ์ที่กำหนดให้ได้ 2. บอกได้ว่าเหตุการณ์ที่กำหนดให้ 2 เหตุการณ์เป็นเหตุการณ์ ที่เกิดร่วมกันหรือไม่

การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์(Operation of Events) เนื่องจากเหตุการณ์เป็นเซตแสดงว่าเหตุการณ์สามารถกระทำกันได้ด้วยตัวกระทำ (Operational Codes) ของเซต คือ ยูเนียน(Union) อินเตอร์เซ็กชัน(Intersection) ผลต่าง(Difference) และคอมพลีเมนต์(Complement) แล้วทำให้เกิดเหตุการณ์ใหม่ขึ้นดังนี้

ยูเนียนของเหตุการณ์ (Union of Events) ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ แล้ว ยูเนียนของเหตุการณ์ E1 และ E2 เขียนแทนด้วย E1 E2 เป็นเหตุการณ์ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ E1 หรือสมาชิกของเหตุการณ์ E2 หรือทั้งสองเหตุการณ์ ตัวอย่างที่ 1 ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง S = { 1,2,3,4,5,6 } ถ้า E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มซึ่งหารด้วย 3 ลงตัว E1 = { 3,6 } ถ้า E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นเลขคี่ E2 = { 1,3,5 } ดังนั้น E1  E2 = { 1,3,5,6 }

อินเตอร์เซ็กชั่นของเหตุการณ์ (Intersection Events) ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ แล้วอินเตอร์เซ็กชั่นของเหตุการณ์ E1 และ E2 เขียนแทนด้วย E1  E2 เป็นเหตุการณ์ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในเหตุการณ์ E1 และเหตุการณ์ E2  ตัวอย่างที่ 2 ในการโยนเหรียญ 3 อัน 1 ครั้ง S = { HHH,HHT,HTH,HTT,THH,THT,TTH,TTT } ถ้า E1 เป็นเหตุการณ์ที่โยนได้หัว 2 ครั้ง E1 = { HHT,HTH,THH } ถ้า E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้หัวในการโยนครั้งแรก E2 = { HHH,HHT,HTH,HTT } ดังนั้น E1  E2 = { HHT,HTH }

ผลต่างของเหตุการณ์ (Difference of Events) ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ แล้วผลต่างของ E1 และ E2 เขียนแทนด้วย E1 - E2 เป็นเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ E1 แต่ไม่เป็นสมาชิกของเหตุการณ์ E2 ตัวอย่างที่ 3 ในการโยนลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง S = { 1,2,3,4,5,6 } ถ้า E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นเลขคี่ E1 = { 1,3,5 } ถ้า E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มซึ่งหารด้วย 3 ลงตัว E2 = { 3,6 } ดังนั้น E1 - E2 = { 1,5 }

คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ (Complement of an Events) ถ้า E เป็นเหตุการณ์ซึ่งอยู่ในแซมเปิลสเปซ S แล้ว คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ E เขียนแทนด้วย E เป็นเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในแซมเปิลสเปซ S แต่ไม่อยู่ในเหตุการณ์ E ตัวอย่างที่ 4 ในการโยนเหรียญ 2 อัน 1 ครั้ง S = { HH,HT, TH,TT } ถ้า E เป็นเหตุการณ์ที่ขึ้นหัวทั้งสองอัน E = { HH } ดังนั้น E = { HT, TH,TT }

เหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน (Mutually Exclusive Events) ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ ที่มี E1  E2 ≠ 0 แล้วจะเรียกเหตุการณ์ E1 และ E2 ว่าเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน ตัวอย่างที่ 5 ในการโยนลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครั้ง S = { 1,2,3,4,5,6 } ถ้า E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นเลขคี่ E1 = { 1,3,5 } ถ้า E2 เป็นเหตุการณ์ที่ได้แต้มเป็นเลขคู่ E2 = { 2,4,6 } ดังนั้น E1  E2 = 

ตัวอย่างที่ 6 ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง ผลลัพธ์ที่สนใจ คือ หน้าของลูกเต๋าทั้งสอง กำหนดให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่ผลบวกของแต้มเป็น 6 E2 แทนเหตุการณ์ที่แต้มขึ้นเป็นจำนวนคู่ทั้ง 2 ลูก E3 แทนเหตุการณ์ที่แต้มขึ้นเป็นจำนวนคี่ทั้ง 2 ลูก จงหา 1. E1  E2 2. E1  E2 3. E1  E2 4. (E2 E3) 5. E1  E2  E3

วิธีทำ E1 แทนเหตุการณ์ที่ผลบวกของแต้มเป็น 6 E = {(1, 5), (2, 4), (3, 3), (4, 2), (5, 1)} E แทนเหตุการณ์ที่แต้มขึ้นเป็นจำนวนคู่ทั้ง 2 ลูก E = {(2, 2), (2, 4), (2, 6), (4, 2), (4, 4), (4, 6), (6, 2), (6, 4), (6, 6)} E แทนเหตุการณ์ที่แต้มขึ้นเป็นจำนวนคี่ทั้ง 2 ลูก E = {(1, 1), (1, 3), (1, 5), (3, 1), (3, 3), (3, 5), (5, 1), (5,3), (5, 5) }

จะได้ว่า 1. E1 E = {(2, 4), (4, 2)} 2. E1 E2 = {(1, 5), (2, 2), (2, 4), (2, 6), (3, 3), (4, 2), (4, 4), (4, 6), (5, 1), (6, 2), (6, 4), (6, 6)} 3. E1 E2 = {(1, 5), (3, 3), (5, 1)} 4. (E2 E3) = {(1, 2), (1, 4), (1, 6), (2, 1), (2, 3), (2, 5), (3, 2), (3, 4), (3, 6), (4, 1), (4, 3), (4, 5), (5, 2), (5, 4), (5, 6), (6, 1), (6, 3), (6, 5)} E1 E2 E3= (E1 E2 E3) = {(1, 2), (1, 4), (1, 6), (2, 1), (2, 3), (2, 5), (3, 2), (3, 4), (3, 6), (4, 1), (4, 3), (4, 5), (5, 2), (5, 4), (5, 6), (6, 1), (6, 3), (6, 5)}