ลักษณะประชากรของทวีปเอเชีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
asean บรูไน ดารุสซาลาม อินโดนิเซีย กัมพูชา ลาว มาเลเซีย พม่า
ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน Company Logo.
กำแพงเมืองจีน (ที่มา :
ทัชมาฮาล (ที่มา : เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน ทัชมาฮาล.
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
“IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียน IDA คิด IDA ทำ นำอาเซียนสู่สังคมโลก”
Jane Jacobs เมืองเกิดหลังชนบทจริงหรือ? เมืองเกิดจากเกษตรกรรมจริงหรือ?
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
ฟิลิปปินส์(Philippines)
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
สิงคโปร์.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ภูมิประเทศภูมิภาคต่างๆ ของทวีปเอเชีย
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และ การตั้งถิ่นฐานของประชาชน
ทวีปแอฟริกา เด็กชายวุฒิชัย เพชรฤทธิ์ เลขที่ 2 ม.3.
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
BY NONGLAK WANSOM Saparachinee School Trang Thailand
แบบทดสอบ เรื่อง แผนที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะทางภูมิภาคทวีปยุโรป
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
ประเทศสมาชิกอาเซียน.
คลิกเพื่อไปหน้าต่อไป คลิกเพื่อกลับหน้าก่อนหน้า คลิกเพื่อกลับหน้าหลัก คลิกเพื่อออกจากบทเรียน.
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
ปัจจุบันประเทศอาเซียน มีอยู่ 10 ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดังนี้
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
CapitalCapitalCapitalCapital GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ผู้จัดทำ ด. ญ. ชนินาถ สุขะ ชั้น ม.2/8 เลขที่ 34 ประเทศมาเลเซีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
CountryCountryCountryCountry GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
Welcome.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปเอเชีย จัดทำโดย เด็กหญิง นภัสสร ประสิงห์ เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 เสนอ คุณครูอรอุมา พงษ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา... ไม่มีอะไรจะอธิบายย จบปิ๊ง.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ประวัติความเป็นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะประชากรของทวีปเอเชีย

1. กลุ่มคอเคซอยต์ มีลักษณะผิวขาวจนถึงสีน้ำตาล จมูกโด่งแคบ ริมฝีปากบาง ตัวสูงใหญ่ ตั้งถิ่นฐานแถบเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียกลาง และตอนเหนือของเอเชียใต้ เช่น ซาอุดีอาระเบีย อิรัก อิหร่าน อุซเบกิสถาน คาซัคสถาน เป็นต้น

2. กลุ่มนิกรอยด์ มีลักษณะผิวดำ ผมหยิก ปากหนา ตัวสูงใหญ่ อยู่แถบบริเวณเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียใต้ ส่วนตัวเล็กเตี้ยอยู่แถบหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น อินโดนีเซีย บรูไน ติมอร์-เลสเต(เดิมเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส ได้สถาปนาเป็นประเทศ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2545) ชนเป่าในดินแดนมินดาเนา (ฟิลิปปินส์) อีเรียนจายา(อินโดนีเซีย)

3. กลุ่มมองโกลอยด์ มีลักษณะผวสีเหลือง ผมดำ ใบหน้าแบนกว้าง ศีรษะกลมเล็ก โหนกแก้มสูง จมูกเล็กแฟบ ตาเรียว ตั้งถิ่นฐานอยู่แถบเอเชียตะวันออก เช่น จีน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต้ มองโกเลีย ญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่า ไทย ลาว เวียดนาม เป็นต้น

เนื้อที่/ตารางกิโลเมตร ภูมิภาค จำนวนประเทศ เนื้อที่/ตารางกิโลเมตร ลำดับที่ ประชากร (ล้านคน) เอเชียตะวันออก 6 11,793,911 1 1,547.4 เอเชียใต้ 7 4,489,240 4 1,497.6 2 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 11 4,509,211 3 574.8 เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ 16 6,644,866 294.1 เอเชียกลาง 8 4,180,500 5 76.3 รวม 48 31,617,728 3,990.2

กลุ่มประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย กลุ่มประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชีย 1. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 1.1 ประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวงจาการ์ตา 1.2 ประเทศพม่า เมืองหลวงย่างกุ้ง 1.3 ประเทศไทย เมืองหลวงกรุงเทพมหานคร 1.4 ประเทศเวียดนาม เมืองหลวง ฮานอย 1.5 ประเทศมาเลเซีย เมืองหลวง กัวลาลัมเปอร์ 1.6 ประเทศฟิลิปปินส์ เมืองหลวง มะนิลา 1.7 ประเทศลาว เมืองหลวงเวียงจันทน์ 1.8 ประเทศกัมพูชา เมืองหลวงพนมเปญ 1.9 ประเทศติมอร์-เลสเต เมืองหลวงดิลี 1.10 ประเทศบรูไน เมืองหลวงบันดาร์เสรีเบกาวัน 1.11 ประเทศสิงคโปร์ เมืองหลวงสิงคโปร์

2. ภูมิภาคเอเชียตะวันออก ประกอบด้วย 2.1 ประเทศจีน เมืองหลวงเป่ย์จิง 2.2 ประเทศมองโกเลีย เมืองหลวงอูลานบาดอร์ 2.3 ประเทศญี่ปุ่น เมืองหลวงโตเกียว 2.4 ประเทศเกาหลีเหนือ เมืองหลวงเปียงยาง 2.5 ประเทศเกาหลีใต้ เมืองหลวงโซล 2.6 ประเทศไต้หวัน เมืองหลวง ไทเป 3. ภูมิภาคเอเชียใต้ ประกอบด้วย 3.1 ประเทศอินเดีย เมืองหลวงนิวเดลี 3.2 ประเทศปากีสถาน เมืองหลวงอิสลามมาบัด 3.3 ประเทศเนปาล เมืองหลวงกาฐมาณฑุ 3.4 ประเทศบังกลาเทศ เมืองหลวงธากา 3.5 ประเทศศรีลังกา เมืองหลวงโคลัยโบ 3.6 ประเทศภูฏาน เมืองหลวงทิมพู 3.7 ประเทศมัลดีฟส์ เมืองหลวงมาลี

4. ภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 4.1 ประเทศซาอุดิอาระเบีย เมืองหลวงริยาด 4.2 ประเทศอิหร่าน เมืองหลวงเตหะราน 4.3 ประเทศตุรกี เมืองหลวงอังการา 4.4 ประเทศอัฟกานิสถาน เมืองหลวงคาบูล 4.5 ประเทศเยเมน เมืองหลวงซานา 4.6 ประเทศอิรัก เมืองหลวงแบกแดด 4.7 ประเทศโอมาน เมืองหลวงทบิลิซี 4.8 ประเทศอาร์เมเนีย เมืองหลวงเยเรวาน

4. ภูมิภาคเอเชียกลาง ประกอบด้วย 4.1 ประเทศคาซัคสถาน เมืองหลวงอัสตานา 4.2 ประเทศเติร์กเมนิสถาน เมืองหลวงอาซกาบัต 4.3 ประเทศอุซเบกิสถาน เมืองหลวงทาชเคนด์ 4.4 ประเทศคีร์กีซสถาน เมืองหลวงบิชเคก 4.5 ประเทศทาจิกีสถาน เมืองหลวงดูชานเบ 4.6 ประเทศอาร์เซอร์ไบจาน เมืองหลวงบากู 4.7 ประเทศจอร์เจีย เมืองหลวงมัสกัด 4.8 ประเทศซีเรีย เมืองหลวงตามัสกัส 4.9 ประเทศจอร์แดน เมืองหลวงอัมมาน 4.10 ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เมืองหลวงอาบูดาบี 4.11 ประเทศอิสราเอล เมืองหลวงเทลอาวีฟ 4.12 ประเทศคูเวต เมืองหลวงคูเวนซิตี 4.13 ประเทศกาตาร์ เมืองหลวงโดฮา 4.14 ประเทศเลบานอน เมืองหลวงเบรุต 4.15 ประเทศไซปรัส เมืองหลวงนิโคเซีย 4.16 ประเทศบาห์เรน เมืองหลวงมานามา

ประชากรในทวีปเอเชียปัจจุบันอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ ๆ เพราะมีความเจริญทางด้านเทคโนโลยี และแหล่งการศึกษา จึงทำให้ในชนบทคนเริ่มอาศัยอยู่น้อย ประชากรที่ทำการเพาะปลูกเริ่มนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยทำให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ส่วนประเทศที่ลักษณะเศรษฐกิจไม่ดี ประชากรจะอพยพไปทำงานต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น แถบตะวันออกกลาง เป็นต้น บริเวณที่มีประชากรหนาแน่น เช่น ภาคตะวันออกของอินเดียแถบลุ่มแม่น้ำคงคาและปากแม่น้ำทางตะวันตกเฉียงใต้ของบังกลาเทศ ปากแม่น้ำอิระวดีแถบเมืองย่างกุ้ง ปากแม่น้ำเจ้าพระยา ปากแม่น้ำโขง แม่น้ำแดงในเวียดนาม เกาะสิงคโปร์ เกาะชวา เกาะสุมาตรา คาบสมุทรเกาหลี ในจีน เช่นแม่น้ำหวางเหอ แม่น้ำฉางเจียง แม่น้ำซีเจียง และแถบชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ส่วนบริเวณที่มีประชากรเบาบางมักเป็นเขตทะเลทราย ทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย เขตแห้งแล้งกันดาร เขตเทือกเขา ที่ราบสูง เขตอากาศหนาวจัดและป่าร้อนชื้น เช่น เขตทะเลทรายในคาบสมุทรอาหรับ เขตทะเลทรายในอิหร่าน เขตทะเลทรายธาร์ในอินเดีย เป็นต้น