การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
แผนภูมิที่ 1 แสดงการรักษาโรค Croup
Reversal of Vitamin-K Antagonists
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
Lean กลุ่ม 1 เครือข่ายและเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ
เรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
รายละเอียดวิชา สัมมนา 1 หลักเกณฑ์ในการเลือกบทความ วิธีการเขียนบทคัดย่อ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
AMINOGLYCOSIDES เป็นยากลุ่มที่นิยมใช้น้อยกว่ากลุ่มเพนนิซิลลินเนื่องจากมีความเป็นพิษสูง แต่สามารถนำมาใช้ร่วมกับยาในกลุ่มเพนนิซิลลินทำให้สามารถออกฤทธิ์เพิ่มได้อย่างทวีคูณ.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
ระบบอนุภาค.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
Management of Pulmonary Tuberculosis
Decision Limit & Detection Capability.
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
Analyzing The Business Case
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
คุณสมบัติการหารลงตัว
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
นายแพทย์สมพงษ์ กิตติพิบูลย์
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
คปสอ.เมืองปาน.
การนำ การคิด แบบหญิงยุคใหม่
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินการใช้ยา ( Drug Use Evaluation,DUE )
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง
การสร้างแบบเสื้อและแขน
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
21/02/54 Ambulatory care.
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้บริบทของอำเภอนาด้วง
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
ภญ. นีลนาถ เจ๊ะยอ รพ. หนองจิก จ. ปัตตานี. ที่มาของ การพัฒนา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ เภสัชกร ปรีชา มนทกานติกุล Pharm.D., อ.ภ. (เภสัชบำบัด) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม สามารถอธิบายถึงการให้ยาหลังจาก STAT แล้ว

กรณีศึกษา นายมานิตอายุ 65 ปี หนัก 70 kg สูง 175 cm เข้าโรงพยาบาลด้วยอาการไข้ ไอ หอบ แพทย์สงสัย community-acquired pneumonia จึงให้ ampicillin 1 gm IV q 6 hr + gentamicin 350 mg IV infusion over 1 hr once daily STAT เวลาตี 3 ของวันที่ 16 มีนาคม 2550 ผู้ป่วยมี SCr 0.7 mg/dL, ไม่มีประวัติแพ้ยาใดๆ ท่านคิดว่าจะให้ยานี้อีกครั้งในวันและเวลาใด (รพ. แห่งนี้ให้ยาที่เวลา 7.00 น., 13.00 น., 19.00 น. และ 1.00 น. สำหรับ q 6 hr และเวลา 7.00 น. สำหรับ qd) IBW = 70.46 kg Clcr = 104.17 ml/min Dettli method Vd = 17.5 L K = 0.25 T1/2 = 2.66 hr (next graph uses 2.5 hr) If use 350 mg will get peak of 17.7 mg/L

จะให้ Scheduled Dose เมื่อไหร่ ต่อจาก STAT Dose? 4 hrs Toxic Level Therapeutic Level Blood Concentration 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3pm

Gentamicin 350 mg IV Once Daily ระดับยาสูงทำให้ยาฆ่าเชื้อได้ดีขึ้น 20 Blood Concentration (mg/L) ระดับยาต่ำแต่ ยายังมีฤทธิ์อยู่ และมีพิษต่อไต น้อยลง พิษต่อไตน้อยถ้ามีระดับยา ต่ำสุด < 2 mg/L 10 5 1 MIC 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3pm 16 มีค 17 มีค

Gentamicin 350 mg IV Once Daily 4 hrs 20 Blood Concentration (mg/L) 10 Amikacin toxic: trough> 10-12 mg/L gentamicin trough > 2 mg/L  nephrotoxicity 36% compare to 0% in pt with trough < 2 mg/L (Dahlgren AAC 1975;8:58-62) Gentamicin peak > 32  ototoxicity พิษต่อไตน้อยถ้ามีระดับยา ต่ำสุด < 2 mg/L 5 6.5 mg/dL 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3pm 16 มีค 17 มีค

Gentamicin 350 mg IV Once Daily 10 hrs ซึ่งต้องรอเวลาอย่างน้อย 10 ชั่วโมง หลังเริ่มหยดยา STAT (ห้ามให้ยา dose ที่ 2 ภายใน 10 ชั่วโมง หลังเริ่มหยดยาครั้งแรกตอน ตี 3) 20 Blood Concentration (mg/L) 10 5 2 mg/dL 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3pm 16 มีค 17 มีค

Gentamicin 350 mg IV Once Daily 10 hrs ซึ่งต้องรอเวลาอย่างน้อย 10 ชั่วโมง หลังเริ่มหยดยา STAT (ห้ามให้ยา dose ที่ 2 ภายใน 10 ชั่วโมง หลังเริ่มหยดยาครั้งแรกตอน ตี 3) 20 Blood Concentration (mg/L) 10 5 2 mg/dL 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3pm 16 มีค 17 มีค

Gentamicin 350 mg IV Once Daily 14 hrs ถ้าใช้หลัก “ครึ่งหนึ่งของระยะห่างให้ยา” ให้ยา dose ที่ 2 หลัง STAT ที่ครึ่งหนึ่ง ของ dosing interval ซึ่งในที่นี้คือ 12 ชั่วโมง คือ หลังเวลา 3PM เช่นให้ยาที่ 5PM (14 ชั่วโมงหลังให้ STAT) จะได้ระดับยาต่ำสุดเป็น 0.69 mg/dL ซึ่งต่ำกว่า 2 mg/dL ปัญหาคือ ยาบางชนิด หากระดับยาต่ำเกินไป เชื้ออาจแบ่งตัวได้ 20 Blood Concentration (mg/L) 10 5 2 mg/dL 0.69 mg/dL 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3pm 16 มีค 17 มีค

ระยะเวลาที่น้อยที่สุดที่ต้องห่างจาก STAT Dose และการให้ยาครั้งที่ 2* Aminoglycosides# 5mg/kg IV 1 hr Once Daily 10 ชั่วโมงหลังเริ่มหยดยา Aminoglycosides# 1.5mg/kg IV 0.5 hr q 8 hr 6 ชั่วโมงหลังเริ่มหยดยา Amikacin 15 mg/kg IV 1 hr Once daily 10 ชั่วโมงหลังเริ่มหยดยา Amikacin 5 mg/kg IV 0.5 hr q 8 hr 6 ชั่วโมงหลังเริ่มหยดยา Kapseal® 300 mg/day PO after LD 18 ชั่วโมงหลัง LD Infatab® 100 mg PO q 8 hr after LD 24 ชั่วโมงหลัง LD Phenytoin 100 mg IV q 8 hr after LD 24 ชั่วโมงหลัง LD Vancomycin 1 g IV 1 hr q 12 hr 9 ชั่วโมงหลังเริ่มหยดยา *เฉพาะผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีการทำงานของไตปกติเท่านั้น #Gentamicin, netilmicin, tobramycin สีเหลืองคือ ยาที่ไม่สามารถใช้หลัก “ครึ่งหนึ่งของ dosing interval” ได้ Vancomycin: T1/2 = 8 hr, Vd = 0.5 L/kg Dilantin: time to peak for SR = 4-12 hr, for immediate = 2-3 hr. Normal maintenance dose = 300 mg/day  6 mg/L T1/2 (oral) 22 hr (7-42 hr)

คุณสมบัติของยากลุ่มที่ให้หลัง STAT ไม่ได้ตาม Schedule ยาที่มี maximum dose/ครั้ง เท่ากับ recommended dose/ครั้ง ยาที่มีอาการไม่พึงประสงค์รุนแรง และสัมพันธ์กับระดับยาในเลือด ยาให้วันละ 1-2 ครั้ง (แสดงว่าค่าครึ่งชีวิตยาว)

Ampicillin 1 gm IV q 6 hr Blood Concentration (mg/L) 16 มีค 17 มีค 4 hrs Maximum dose: 2 gm IV q 8 hr 6-12 gm/day 50 Blood Concentration (mg/L) PK parameters: Vd 20 L T1/2 1.5 hr 25 12.5 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3am 7am 11am 3pm 7pm 11pm 3pm 16 มีค 17 มีค

คุณสมบัติของยากลุ่มที่ให้หลัง STAT ได้ตาม Schedule ยาที่มี maximum dose/ครั้ง สูงกว่า recommended dose/ครั้ง Ampicillin 1 g IV q 6 hr Dental prophylaxis to prevent IE: 2 g IV within 30 mins prior to procedure ยาที่พิษหรืออาการพึงประสงค์ไม่รุนแรง หรืออาการไม่พึงประสงค์ไม่สัมพันธ์กับระดับยา ยาที่ให้วันละหลายๆ ครั้ง (แสดงว่ามีค่าครึ่งชีวิตสั้น)

Take Home Message ก่อนที่จะให้ “ยาที่ให้หลัง STAT ไม่ได้ตาม Schedule” ต้องพิจารณาว่ายานั้นได้รับการให้แบบ STAT มาใน dose ที่แล้วมาหรือไม่ หากมี ก็อาจต้องพิจารณาพิษของยาที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ยาถี่เกินไป การกำหนด “ระยะเวลาน้อยที่สุด” ที่จะสามารถให้ยา dose ต่อไปได้ จึงมีความสำคัญ (Unsafe to Administer Period; UAP) การใช้กฎ “ครึ่งหนึ่งของระยะห่างการให้ยา” ไม่ควรใช้กับยาในกลุ่ม high-alert drug

คำถาม