แผนภูมิสมดุล ความบกพร่องในผลึก การเปลี่ยนของรูปโลหะ การคืนตัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
Advertisements

หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
Chapter 2 : Character and Fonts
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
สมบัติของสารและการจำแนก
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
รูปร่างและรูปทรง.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
การพัฒนาเว็บ.
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
บทที่ 3 การเกิดและแหล่งกำเนิดของอัญมณี
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
เลื่อยมือ hack saw.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
บทเรียนเพาเวอร์พอยท์
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
กาแล็กซีและเอกภพ.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
Coagulation and Flocculation
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
“ แสงสว่างนำทาง ชีวิต ” ทำธุรกิจที่คุณคิดว่ายาก ให้ กลายเป็นเรื่องง่าย เพราะเราเข้าใจธุรกิจ เข้าใจ เครือข่าย เข้าใจคนทำงาน.
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ซ่อมเสียง.
ดินถล่ม.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ดาวศุกร์ (Venus).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
วิทยาศาสตร์ Next.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ข้อเสนอความคิดเห็นโรงงานถลุงหรือหลอมโลหะ รวมเหล็กและเหล็กกล้า
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
บทที่ 4 โครงสร้างวัสดุ.
5. ของแข็ง (Solid) ลักษณะทั่วไปของของแข็ง
โครงสร้างอะตอมและโครงสร้างผลึก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนภูมิสมดุล ความบกพร่องในผลึก การเปลี่ยนของรูปโลหะ การคืนตัว การเกิดผลึกใหม่ การเติบโตของผลึก แผนภูมิสมดุล

1. ความบกพร่องในผลึก (Defect in Crystals) 1.1 ความบกพร่องในลักษณะจุด (Point Defect) 1.2 ความบกพร่องแบบซอตต์กี (Schottky Defect) 1.3 ความบกพร่องแบบเฟรนเคล (Frenkel Defect) 1.4 ความบกพร่องในลักษณะแนวเส้น (Line Defect)

1.1 ความบกพร่องในลักษณะจุด (Point Defect) Vacancy รูป ลักษณะความบกพร่องของผลึกในลักษณะจุดว่าง

1.1 ความบกพร่องในลักษณะจุด (Point Defect) - ต่อ Substitutional Impulity Atom Interstitial Impulity Atom

1.2 ความบกพร่องแบบซอตต์กี (Schottky Defect) 1.3 ความบกพร่องแบบเฟรนเคล (Frenkel Defect)

1.4 ความบกพร่องในลักษณะแนวเส้น (Line Defect) Edge Dislocation รูป ลักษณะความบกพร่องแบบ Edge Dislocation รูป ลักษณะความบกพร่องแบบ Edge Dislocation ซึ่งมองจากด้านหน้า

1.4 ความบกพร่องในลักษณะแนวเส้น (Line Defect) - ต่อ Screw Dislocation

รูป ลักษณะการเลื่อนไหลในผลึกของโลหะ 2. การเปลี่ยนของรูปโลหะ(Deformation) การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเกิดจากการเลื่อนไหล(Slip) ระหว่างชั้นของอะตอม และการ Twinning ซึ่งกลุ่มอะตอมที่เกิดการ Twin นั้นจะถูกผลักให้เคลื่อนที่ไป จนระยะห่างระหว่างอะตอมอาจจะผิดไปจากเดิม และระนาบที่อะตอมถูกผลักให้เคลื่อนออกไปนั้นเรียกว่า Twinning Plane รูป ลักษณะการเลื่อนไหลในผลึกของโลหะ

รูป ลักษณะของ Twin Plane และการจัดเรียงตัวของอะตอมจนเกิดแถบดำสลับขาว 2. การเปลี่ยนของรูปโลหะ(Deformation) - ต่อ รูป ลักษณะของ Twin Plane และการจัดเรียงตัวของอะตอมจนเกิดแถบดำสลับขาว

2. การเปลี่ยนของรูปโลหะ(Deformation) - ต่อ Twinning จะเกิดเมื่อโลหะมีโครงสร้างเป็นแบบ Body-Center และ Hexagonal Close-Packed โลหะที่มีโครงสร้างผลึกแบบ Face-Center Cubic จะเกิด Twinning ได้เมื่อผ่านการขึ้นรูปเย็น (Clod Working) และการอบอ่อน (Annealing) แล้ว ตัวอย่างได้แก่ สังกะสี ดีบุก และเหล็ก เป็นต้น 

2. การเปลี่ยนของรูปโลหะ(Deformation) - ต่อ รูป ลักษณะโครงสร้างของโลหะที่เกิดการ Twin (ก)เหล็ก (ข) สังกะสี และ (ค)ทองผสมเงิน

3. การคืนตัว อบโลหะที่อุณหภูมิ 100 - 200 ° C จะช่วยให้ความเครียดภายในหมดไป เพิ่มอุณหภูมิในการอบขึ้นเป็น 200 - 450 ° C โครงสร้าง มาร์เทนไซต์ จะสลายเป็นเฟอร์ไรต์ และซีเมนไทต์ จะแยกตัวออกมาเป็นจุดกลมเล็ก ๆ กระจายอยู่ในเนื้อโลหะ เรียกว่า Secondary Troostite  เพิ่มอุณหภูมิในการอบขึ้นเป็น 450 - 650 ° C จุดกลมเล็ก ๆ ของซีเมนไทต์จะรวมตัวเป็นก้อนกลมใหญ่ขึ้น ทำให้การเลื่อนไถลระหว่างชั้นของผลึกเกิดได้ง่ายขึ้น โครงสร้างที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า ซอร์ไบต์(Sorbite) โครงสร้าง Secondary Troostite และ ซอร์ไบต์ รวมกันเรียกว่า Tempered Martensite

4. การเกิดผลึกใหม่ โลหะในสภาพหลอมละลาย อนุภาคของโลหะจะเคลื่อนที่อยู่ ตลอดเวลา และเมื่ออุณหภูมิลดลงการเคลื่อนที่ของอนุภาคจะลด ความเร็วลง จนอนุภาคเข้าใกล้กันและดึงดูดกัน กลายเป็น นิวเคลียส หลังการเย็นตัว นิวเคลียสจะขยายตัวกลายเป็นผลึก (Crystal) เล็ก ๆ และโตขึ้นจนกลายเป็นผลึกใหญ่ ซึ่งเรียกว่า เกรน (Grains) แล้วเมื่อเกรนชนกับเกรนข้างเคียง จะเกิดขอบเกรน (Grain Boundary) ขึ้น

รูป ลำดับขั้นการแข็งตัวของโลหะ 4. การเกิดผลึกใหม่ - ต่อ รูป ลำดับขั้นการแข็งตัวของโลหะ

รูป ลักษณะการเติบโตของผลึก 5. การเติบโตของผลึก เริ่มจากมีจุดเริ่มต้นการตกผลึก แล้วผลึกก็จะโตขึ้นจากจุดเริ่มต้นไปในทุกทิศทาง ในขณะเดียวกันจุดเริ่มต้นใหม่ ๆ ก็จะเกิดขึ้น น้ำโลหะทั้งหมดก็จะกลายเป็นผลึกหรือเกรน ซึ่งจะเกิดมีขอบคั่นระหว่างผลึก เรียกว่า ขอบผลึกหรือขอบเกรน(Grain Boundary) รูป ลักษณะการเติบโตของผลึก